สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

301. สมบัติของไม้ยางพาราอัดสารสกัดจากเปลือกไม้กระถินเทพา (Properties of rubberwood impregnated with Acacia mangium bark extracts)

302. การวิจัยและพัฒนาแผ่นฉนวนกันความร้อนจากเส้นใยไม้ยางพารา ผสมน้ำยางพาราธรรมชาติ

303. โครงการวิจัย เรื่อง การทำนายปริมาณความชื้น ความหนาแน่น และความแข็งแรงไม้ยางพาราด้วยเทคนิคสเปกโทรสโกปีอินฟราเรดย่านใกล้

304. ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของระบบวนเกษตรยางพารา ที่ปฏิบัติดีในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย

305. ภาพรวมของยางพาราทั้งระบบ

306. กระดานยางพาราวาดภาพนูนสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น

307. โครงการ การเตรียมวัสดุดูดซับแรงกระแทกแรงสูงที่เตรียมจากยางพารา

308. กระบวนการทางชีวเคมีที่เกี่ยวข้องกับการอุดตันของท่อยางในต้นยางพารา

309. กล่องจำลองระบบทางเดินอาหารจากยางพาราเพื่อฝึกแพทย์ส่องกล้อง

310. การควบคุมโรครากขาวในยางพาราโดยชีววิธีด้วยเชื้อแบคทีเรียกลุ่มแอคติโนมัยสิท : การทดลองในระดับกระถางปลูก

311. การคัดเลือกจุลินทรีย์ที่ผลิตสารป้องกันเชื้อราบนยางพาราแผ่นโดยชีววิธี

312. การคัดเลือกยางพาราพันธุ์ท้องถิ่นที่มีศักยภาพให้ผลผลิตสูงจากสวนเกษตรกรทางภาคใต้

313. การคัดแยกแอคติโนมัยสีทจากรากและดินรอบรากต้นยางพาราที่สามารถยับยั้ง Corynespora cassiicola และ phytophthora botryosa

314. การคิดต้นทุนพร้อมกับรายได้จากการปลูกยางพาราในรูปแบบของระบบสมการหลายชั้น กรณีศึกษา อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง และอำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช

315. โครงการการพัฒนารูปแบบการตลาดสู่การเป็นเครือข่ายยางพาราที่เข้มแข็งในจังหวัดเชียงราย

316. การศึกษาแนวทางและมาตรการเพื่อกระตุ้นอุปสงค์ยางพาราภายในประเทศ

317. การใช้พลังงานจากเตาชีวมวลบดละเอียดเป็นเชื้อเพลิงเพื่อการแห้งยางพารา

318. โครงการการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในรูปแบบเครือข่ายคุณภาพการผลิตยางพารา กรณีศึกษา อําเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ

319. การพัฒนาการเคลือบผิววัสดุคอมโพสิตธรรมชาติจากยางพาราผสมเส้นใยธรรมชาติสำหรับทำเป็นผลิตภัณฑ์บล็อกยางปูพื้นภายนอกอาคาร

320. โครงการการตรวจสอบวัตถุแปลกปลอมในเนื้อยางพาราก้อนถ้วย

321. การสังเคราะห์ยางพาราเรืองแสง

322. โครงการวิจัยขนาดเล็กยางพาราเรื่อง การเคลือบแบบแทรกซึมของยางธรรมชาติอิพอกซิไดซ์บนพื้นผิวของยางธรรมชาติ

323. แนวทางการสนับสนุนด้านการลงทุนระหว่างประเทศของอุตสาหกรรมยางพาราไทย

324. โครงการฉนวนจุดต่อฟิวส์คัทเอาท์จากยางพารา

325. โครงการฤทธิ์ทางชีวภาพและกรดไขมันสำคัญทางเครื่องสำอางในเมล็ดยางพาราสายพันธุ์ RRIM 600

326. โครงการ การสกัดน้ำมันเมล็ดยางพารา (Hevea brasiliensis) เพื่อการใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง

327. การปรับตัวของระบบการผลิตยางพาราต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในเขตภาคใต้ตอนบน

328. การศึกษาการใช้น้ำหมักชีวภาพซุปเปอร์ พด.2 และปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง ในการป้องกันอาการเปลือกแห้งของยางพาราและเพิ่มผลผลิตน้ำยาง

329. การประยุกต์ใช้ระบบสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับตัดสินใจเลือกพื้นที่ปลูกยางพาราในจังหวัดกาฬสินธุ์

330. กลไกการขับเคลื่อนเครือข่ายทางสังคมเศรษฐกิจเชิงพื้นที่ของชาวสวนยางพารา กรณีศึกษา กลุ่มน้ำยางในหมู่บ้านควนจง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

331. ศักยภาพของแอคติโนมัยสิทต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา Phytophthora สาเหตุโรคเส้นดำยางพาราในระดับห้องปฏิบัติการ

332. โครงการ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อสร้างความเข้มแข็งของเกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อย ด้วยการจัดการแบบบูรณาการในระบบเกษตรผสมผสานในจังหวัดน่าน

333. การเชื่อมโยงโซ่อุปทาน: เครือข่ายคุณค่ายางพารา ระยะที่ 3

334. การพยากรณ์พื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตของยางพาราในเขตพื้นที่ภาคเหนือ

335. โครงการ เครื่องเลื่อยไม้ยางพาราแบบใหม่เพื่อลดการสูญเสีย

336. โครงการ การศึกษาผลกระทบของปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาเสถียรภาพของราคายางพารา

337. โครงการ การวิเคราะห์ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยางพาราของไทยจากเป้าหมายการเป็นศูนย์กลางยางพาราโลกของมาเลเซีย และข้อตกลงภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

338. การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากน้ำมันเมล็ดยางพารา (Hevea brasiliensis)

339. โครงการ การวิจัยเชิงนโยบายการจัดทำคาร์บอนเครดิต คาร์บอนฟุตพริ้นต์ และวอเตอร์ฟุตพริ้นต์ จากการดำเนินการปลูกสร้างสวนยางพารา ระยะที่ 3 แปดแสนไร่

340. การประเมินระดับธาตุอาหารหลักในดินและในใบยางพาราที่ปลูกในพื้นที่ดอนและที่ลุ่ม

341. ความแปรปรวนและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในภาคใต้ของประเทสไทยที่มีผลต่อการผลิตยางพารา

342. การประเมินวัฏจักรการใช้น้ำ เพื่อการวางนโยบายการจัดสรรทรัพยากรน้ำในพื้นที่เพาะปลูก เพื่อการปลูกยางพาราอย่างยั่งยืน

343. การวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้ระบบสวนยางพารา

344. โครงการ การศึกษาสมดุลคาร์บอนและน้ำ เพื่อใช้เป็นข้อมูลจัดทำคาร์บอนฟุตปริ้นต์และวอเตอร์ฟุตปริ้นต์ของสวนยางพารา

345. การศึกษาแนวทางการดำเนินการประกันภัยธรรมชาติสำหรับยางพารา

346. ศักยภาพการใช้จุลินทรีย์กลุ่ม PGPR ที่สามารถผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพยับยั้งโรครากขาวของยางพารา:การทดสอบในเรือนทดลอง

347. โครงการ สังเคราะห์ผลการวิจัยยางพารา ปี 2555

348. โครงการศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้ยางพาราในอุตสาหกรรมวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์และสุขภาพ

349. ของเหลวคล้ายน้ำมันที่ยืดและแผ่ตัวได้ที่มีส่วนผสมของยางพาราเพื่อใช้เป็นระบบนำส่งยา

350. การประเมินความแปรปรวนเชิงพื้นที่และเวลาของลักษณะทางฟิสิกส์ของดิน ในระดับแปลงทดลอง พื้นที่ปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

351. โครงการ การติดตามโครงการวิจัยและการสนับสนุนงานวิจัยยางพารา ปี 2558

352. การพัฒนาศักยภาพเกษตรกรรายย่อยปลูกยางพาราในภาคเหนือตอนบน

353. โครงการ การจัดทำคาร์บอนเครดิต จากการดำเนินการปลูกสร้างสวนยางพารา ตามนโยบายส่งเสริมการปลูกสร้างสวนยางพารา ระยะที่ 3 ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคติวันออก 250,000 ไร่

354. การประเมินวอเตอร์ฟุตพรินท์ในการปลูกยางพาราในพื้นที่แห่งใหม่ของภาคใต้

355. การพัฒนานักวิจัยเพื่อผลิตงานวิจัยยางพาราที่มีประสิทธิภาพ

356. ผลกระทบของการปลูกยางพาราบนพื้นที่ต้นน้ำ

357. โครงการ การประเมินความต้องการน้ำของพืชเพื่อการวางนโยบายการจัดสรรทรัพยากรน้ำในพื้นที่เพาะปลูกเพื่อการปลูกยางพาราอย่างยั่งยืน

358. สังเคราะห์ผลการวิจัยยางพารา ปี 2556

359. โครงการ นโยบายคาร์บอนเครดิต คาร์บอนฟุตพรินท์ และวอเตอร์ฟุตพรินท์ เพื่อการปลูกยางพาราในพื้นที่ปลูกใหม่ของภาคใต้

360. การวิจัยเชิงนโยบายการจัดทำคาร์บอนเครดิต และการประเมินความต้องการการใช้น้ำจากการดำเนินการปลูกสร้างสวนยางพารา ระยะที่ 3 ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก 250,000 ไร่

361. แนวทางการพัฒนาความเชื่่อมโยงของตลาดและมาตรการสนับสนุนการรักษา เสถียรภาพราคายางพาราของไทย: เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางการตลาด ในกลุ่มประเทศอาเซียน (Phase I – เน้นการศึกษายางพาราเขตภาคเหนือ

362. การพัฒนาระบบออกแบบรูปแบบการเลื่อย ระบบควบคุมการอัดน้ำยา ระบบควบคุมการอบและเตาอบไม้ต้นแบบ สำหรับการผลิตไม้ยางพาราแปรรูปในโรงงานอุตสาหกรรม (โครงการต่อเนื่องระยะที่ 5)

363. การวิเคราะห์ระบบตลาดและการจัดตั้งเครือข่ายการตลาดของเกษตรกรรายย่อยปลูกยางพาราในจังหวัดเชียงรายและพะเยา

364. การใช้ประโยชน์จากยางพาราที่ปราศจากโปรตีนภูมิแพ้ในการผลิตเป็นแผ่นวัสดุปิดแผล

365. การวิเคราะห์การตัดสินใจเชิงนโยบายในการสนับสนุนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางพาราอย่างมีศักยภาพของประเทศไทย

366. การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพและการประเมินดัชนีทางสิ่งแวดล้อมของ กระบวนการผลิตยางพาราแผ่นรมควัน

367. โครงการ “การรับรู้ผลกระทบและการปรับตัวของเกษตรกรชาวสวนยางพาราและอุตสาหกรรมยางพาราจากการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน-กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา

368. โครงการพัฒนาการผลิตยางพาราเชิงระบบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(ระยะที่ 2)

369. การศึกษาสมดุลคาร์บอนและน้ำเพื่อใช้เป็นข้อมูลจัดทำคาร์บอนฟุตปริ้นต์และวอเตอร์ฟุตปริ้นต์ของสวนยางพารา: ระยะที่ 2

370. โครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบที่นอนยางพาราสำหรับทหารกองประจำการกองทัพบก

371. วัสดุกำบังรังสีนิวตรอนที่ถูกปลดปล่อยจากการฉายโฟตอนพลังงานสูงด้วยเครื่องฉายรังสีชนิดเครื่องเร่งอนุภาคทางการแพทย์ที่ประกอบด้วยวัสดุหลายชั้นของยางพาราธรรมชาติและโบรอนและชั้นของยางพาราและเหล็กออกไซด์ (Fe2O3)

372. แนวทางการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานยางพาราในเส้นทางเชื่อมโยง ระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย – สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว – สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

373. การสังเคราะห์ผลการวิจัยยางพารา ประจาปีงบประมาณ 2558 และการทบทวนเพื่อจัดทาร่างยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติฉบับใหม่ (พ.ศ.2560 –2564)

374. การพัฒนาปลายแขนกลสำหรับเครื่องกรีดยางพาราอัตโนมัติ

375. การพัฒนาเครื่องใส่ปุ๋ยยางพาราแบบหยอดหลุม ควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติ

ที่มา : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

Recent Posts