101. การพัฒนาตำรับชาชงพร้อมดื่มเพื่อสุขภาพจากผลลำไย และบัวบก
103. การพัฒนาชุดเทคโนโลยี และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลำไยนอกฤดู
104. การสร้างเครื่องต้นแบบเพื่อตรวจวัดความชื้นของลำไยอบแห้งแบบมีเปลือก
105. ผลกระทบของก๊าซมลพิษ จากโรงอบลำไยต่อระบบทางเดินหายใจ ของประชาชนอำเภอลี้ จังหวัดลำพูน
106. การใช้ลำไยอบแห้งที่หมดอายุในการผลิตสารเคมีเพื่อการค้า
107. ซอร์ปชันไอโซเทอร์ม คุณภาพทางเคมี กายภาพและอุณหภูมิกลาสทรานซิชัน ของน้ำลำไยผง
108. การจัดการการออกดอกที่เหมาะสมสำหรับการจัดการทรงต้นลำไย
110. การเพิ่มประสิทธิภาพของโรงงานลำไยอบแห้ง ด้วยเทคนิคการออกแบบและวางผังโรงงาน
111. แนวทางการประยุกต์เทคโนโลยีสะอาด ในกระบวนการผลิตลำไยอบแห้งทั้งเปลือกของโรงอบลำไยสรายุทธ
112. การศึกษาและพัฒนาลำไย
113. ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตลำไยนอกฤดูของเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่
114. การสร้างเครืองข่ายการรวมกลุ่มและเชื่อมโยงข้อมูลของเกษตรกรและชุมชน กรณีศึกษา: โซ่อุปทานลำไยนอกฤดู
115. การเปลี่ยนแปลงปริมาณฮอร์โมนในช่วงก่อนการออกดอกนอกฤดูของลำไยและลิ้นจี่
116. การเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทน ระหว่างลำไยในฤดูกับนอกฤดู ในอำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน
117. การพัฒนาฐานข้อมูลผลผลิตลำไยในระบบการจัดการน้ำต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจการผลิต
118. การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนของอุตสาหกรรมลำไยอบแห้ง ระบบเตาเผาไหม้โดยใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง
119. การศึกษาการใช้ระบบชลประทานน้ำหยดและไมโครสปริงเกลอร์ ในแปลงปลูกลำไยและลิ้นจี่ (ปี 5)
121. การวิจัยและพัฒนาเครื่องอบแห้งเนื้อลำไยแบบต่อเนื่องโดยใช้เชื้อเพลิงแข็ง
122. การศึกษาปัญหาของผู้ส่งออกลำไยสดในจังหวัดลำพูน
124. ต้นทุนและผลตอบแทนจากการแปรรูปลำไยของวิสาหกิจชุมชนบ้านแคว อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
125. การเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนการทำลำไยอบแห้ง ด้วยเตาอบลำไยแบบกะบะเปิดและแบบลมร้อนในจังหวัดลำพูน
127. การนำเข้าลำไยสดจากประเทศไทยในอำเภอซือเหมา เมืองผู่เอ๋อร์ มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน
128. กระบวนการตัดสินใจซื้อลำไยอบแห้งเนื้อสีทองของผู้บริโภคในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
129. อิทธิพลของสารเคลือบผิวที่รับประทานได้ที่มีต่อคุณภาพของลำไยแช่แข็ง
130. การพัฒนากลยุทธ์ด้านการตลาดของสินค้า OTOP เค้กลำไย จังหวัดลำพูน
131. รูปแบบการจัดการธุรกิจลำไยอินทรีย์ของเกษตรกรผู้ปลูกลำไยอินทรีย์ในเขตภาคเหนือ
132. การศึกษามาตรการแทรกแซงตลาดลำไยเพื่อป้องกันการทุจริต
134. การจัดการดินชุดหางดงในการปลูกลำไยร่วมกับหญ้าแฝกในจังหวัดเชียงใหม่
135. ผลกระทบของภัยแล้งและการปรับตัวของเกษตรกรผู้ปลูกลำไยในตำบลแม่สอย อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่
137. การปรับปรุงคุณภาพของแท่งเชื้อเพลิงเขียวจากชีวมวลลำไยด้วยวัสดุที่ช่วยเผาไหม้
139. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตลำไยนอกฤดู
140. โครงการ “ศูนย์เครือข่ายวิจัยและพัฒนาลำไยแม่โจ้ – สกว.”
142. อิทธิพลของต้นตอลำไยต่อการเจริญเติบโต ทนแล้งและทนโรคของลำไยพันธุ์ดอ
145. การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการผลิตลำไยอินทรีย์
146. การบำบัดน้ำเสียจากฟาร์มสุกรโดยใช้ถ่านกัมมันต์จากเมล็ดลำไย
147. โครงการ การสังเคราะห์โซ่อุปทานลำไยและทุเรียน สู่นโยบายส่งเสริมภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
148. การผลิตฟรุกโตโอลิโกแซ็กคาไรด์จากน้ำเชื่อมลำไยคละเกรด และการทดสอบสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ
149. โครงการ รูปแบบประกันภัยพืชผลทางการเกษตรที่เหมาะสม ในลำไยของประเทศไทย
150. ประสิทธิภาพการผลิตและระยะเวลาคืนทุนการปลูกลำไยในจังหวัดเชียงใหม่
151. การประยุกต์ใช้ข้อมูลระยะไกลและข้อมูลภาคสนามเพื่อประเมินสภาวะการขาดน้ำของลำไย
152. การบำบัดความกระด้างของน้ำบ่อโดยใช้วัสดุดูดซับจากถ่านเม็ดลำไยที่ผ่านการปรับปรุงพื้นผิวทางเคมี
153. การพัฒนาผลิตภัณฑ์กล้วยไข่อัดแท่งผสมลำไยอบแห้ง
154. การประเมินตัวบ่งชี้โปรตีนสำหรับการระบุกลุ่มอาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผลลำไย
155. ประสิทธิภาพการผลิตลำไยของเกษตรกรในเขตภาคเหนือตอนบน
156. โครงการ ผลกระทบต่อการผลิตลำไยภาคตะวันออกจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
157. การศึกษาวิธีเพิ่มเปอร์เซ็นต์การออกดอกของลำไยนอกฤดูในฤดูฝน
158. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ลำไยอบแห้งเสริมโพรไบโอติก โดยเทคนิคการเคลือบผิวด้วยสารเคลือบพรีไบโอติกที่บริโภคได้
160. การคืนสภาพถ่านเม็ดลำไยที่ผ่านการปรับสภาพพื้นผิวทางเคมี
ที่มา : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ