กรมประมง

จำนวน 27 เรื่อง

1. แหล่งและฤดูของการทำประมงเบ็ดราวทูน่าบริเวณทะเลอันดามัน ระหว่างปี ๒๕๔๙-๒๕๕๓

2. ชีววิทยาบางประการของปลาทูน่าท้องแถบ (Katsuwonus pelamis) และปลาทูน่าครีบเหลือง (Thunnus albacares) ที่จับได้จากเครื่องมืออวนล้อมจับของเรือสำรวจประมงมหิดล บริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก

3. การประมงเบ็ดราวปลาทูน่าในมหาสมุทรอินเดียโดยเรือประมงต่างชาติ ที่ขึ้นท่าจังหวัดภูเก็ตของประเทศไทย

4. สมุทรศาสตร์การประมงบริเวณแหล่งประมงปลาทูน่าในทะเลอันดามัน

5. ความชุกชุมและการแพร่กระจายของปลาทูน่าท้องแถบบริเวณแหล่งประมง อวนล้อมจับปลาทูน่าในมหาสมุทรอินเดียตะวันออก

6. องค์ประกอบของอาหารในกระเพาะปลาทูน่าที่จับได้ด้วยเครื่องมืออวนล้อมจับในบริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก

7. อิทธิพลของอุณหภูมิต่อปริมาณฮีสตามีนในกระบวนการผลิตเนื้อปลาทูน่าครีบเหลืองแล่แช่แข็ง

8. ทรัพยากรปลาทูน่าจากเครื่องมืออวนล้อมจับปลาทูน่าในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ.2550-2551

9. ปริมาณโลหะหนักบางชนิดในปลาทูน่าท้องแถบที่จับด้วยอวนล้อมปลาทูน่าบริเวณ มหาสมุทรอินเดียตะวันออก

10. ผลของปริมาณฮีสตามีนเริ่มต้นในปลาทูน่า Skipjack (Katsuwonus pelamis) และระยะเวลาในการผลิตต่อปริมาณฮีสตามีนในผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋อง

11. องค์ประกอบชนิดและอัตราการติดเบ็ดของสัตว์น้ำจากเครื่องมือเบ็ดราวปลาทูน่าบริเวณ Ninety East Ridge ในมหาสมุทรอินเดีย

12. สำรวจทรัพยากรปลาทูน่าในมหาสมุทรอินเดียจากเรือประมงที่มาขนถ่ายที่ จ.ภูเก็ต

13. ผลของปริมาณเชื้อสแตปฟิโลคอคคัส ออเรียสเริ่มต้นต่ออัตราการเติบโตและการสร้างสารพิษในเนื้อทูน่านึ่งสุก

14. การทำประมงเบ็ดราวทูน่าของเรือประมงไทยบริเวณมหาสมุทรอินเดียระหว่างปี 2550-2554

15. ผลของการใช้คาร์บอนมอนอกไซด์ต่อปริมาณฮีสตามีนและคุณภาพทางประสาทสัมผัสของเนื้อปลาทูน่าครีบเหลืองแล่แช่เย็น

16. ผลจับปลาทูน่าของเรือประมงอวนล้อมจับของไทยในมหาสมุทรอินเดีย

17. ผลจับปลาทูน่าจากเรืออวนล้อมจับของไทยบริเวณมหาสมุทรอินเดียระหว่างปี 2548-2550

18. การใช้น้ำนึ่งปลาทูน่าเข้มข้นเป็นสารดึงดูดการกินอาหารที่ใช้พืชเป็นแหล่งโปรตีนหลักสำหรับกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon (Fabricius, 1798)

19. การปนเปื้อนสแตปฟิโลคอคคัส ออเรียสในโรงงานผลิตทูน่ากระป๋อง

20. สภาวะแวดล้อมบางประการบริเวณแหล่งประมงอวนล้อมปลาทูน่าในมหาสมุทรอินเดียตะวันออก พ.ศ. 2557

21. ชีววิทยาบางประการของปลาทูน่าท้องแถบที่จับได้ด้วยเครื่องมืออวนล้อมจับปลาทูน่าบริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก

22. การใช้ตะกอนน้ำนึ่งปลาทูน่าเป็นสารดึงดูดการกินอาหารที่ใช้พืชเป็นแหล่งโปรตีนหลัก สำหรับเลี้ยงปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) และกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

23. การเปลี่ยนแปลงฮีสตามีนในกระบวนการผลิตทูน่ากระป๋องจากทูน่าลอยน์นำเข้า

24. ปริมาณโลหะหนักบางชนิดในปลาเศรษฐกิจที่จับด้วยอวนล้อมปลาทูน่าบริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก

25. ความชุกชุมของทรัพยากรปลาทูน่าและปลาผิวน้ำเศรษฐกิจอื่นๆบริเวณแพล่อปลาประจำที่ในทะเลอันดามัน

26. การสำรวจทรพยากรสัตว์น้ำด้วยเครื่องมือเบ็ดราวปลาทูน่าบริเวณไหล่ทวีปในทะเลอันดามัน

27. การใช้ลักษณะทางกายภาพและประสาทสัมผัสเป็นดัชนีชี้วัดระดับคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ปลาซาร์ดีน (Sardinella gibbosa) บรรจุกระป๋อง

ที่มา : กรมประมง

Recent Posts