สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

จำนวน 55 เรื่อง

1. ผลของสารอาหารในน้ำนึ่งปลาทูน่าและวิธีการเลี้ยงต่อการเพิ่มปริมาณมวลชีวภาพของ Rhodocyclus gelatinosus R7

2. การใช้ประโยชน์เศษเนื้อปลาทูน่าในการผลิตแฮมปลา

3. การสำรวจหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณจับปลาทูน่าท้องแถบและปลาทูน่าครีบเหลืองกับความชุกชุมของอาหารจำพวกครัสตาเชียนบางชนิด

4. การทดลองทำการประมงอวนล้อมปลาทูน่าร่วมกับชาวประมง

5. การศึกษาการรวมฝูงปลาทูน่า บริเวณวัตถุลอยน้ำในมหาสมุทรอินเดีย

6. การสกัดแยกเอนไซม์จากเครื่องในปลาทูน่า

7. การผลิตโปรตีนเซลล์เดียวจากน้ำเสียของกระบวนการผลิตปลาทูน่าบรรจุกระป๋อง

8. ปริมาณ ชนิด ขนาด และองค์ประกอบของปลาทูน่าที่สำรวจพบบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก [2540]

9. กรรมวิธีที่เหมาะสมในการสกัดไขมันจากตับปลาทูน่า

10. การพัฒนาผลิตภัณฑ์แช่เยือกแข็งจากเศษเนื้อปลาทูน่าปรุงรสห่อด้วยผัก

11. การย่อยสลายโปรตีนของหัวปลาทูน่าด้วยเอนไซม์ย่อยโปรตีนที่ผลิตทางการค้า

12. การเลี้ยงยีสต์ในน้ำนึ่งปลาทูน่าหลังการแยกโปรตีนและไขมัน

13. ผลการสำรวจปลาทูน่าในทะเลนอกน่านน้ำไทย โดยเรือสำรวจประมง “มหิดล” ระหว่างปี 2538-2540

14. การทำการประมงอวนล้อมปลาทูน่าเชิงพาณิชย์บริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก โดยเรือสำรวจประมงมหิดล

15. การสำรวจทรัพยากรปลาทูน่าบริเวณทะเลอันดามันและมหาสมุทรอินเดีย ปี 2541 โดยเรือสำรวจประมง “มหิดล”

16. การสำรวจประมงจับปลาทูน่าร่วมกับชาวประมงบริเวณมหาสมุทรอินเดีย ปี 2538-2539 โดยเรือสำรวจประมง “มหิดล”

17. การสำรวจประมงจับปลาทูน่าบริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก ปี 2538 โดยเรือสำรวจประมง “มหิดล”

18. ค่าาพารามิเตอร์ของทรัพยากรปลาทูน่าที่ได้จากข้อมูลความยาว บริเวณมหาสมุทรอินเดีย

19. การทำการประมงอวนล้อมปลาทูน่าเชิงพาณิชย์บริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันตก โดยเรือสำรวจประมงมหิดล ปี2542

20. การสำรวจทรัพยากรปลาทูน่าบริเวณมหาสมุทรอินเดียด้วยเครื่องมือเบ็ดราว ระหว่างปี พ.ศ.2541-2542

21. การพัฒนาการผลิตซุปปลาทูน่าโปรตีนสูงจากน้ำนึ่งปลาทูน่า

22. ชนิดและการแพร่กระจายของปลาวัยอ่อนในแหล่งสำรวจทรัพยากรปลาทูน่าในทะเลอันดามัน

23. การแยกโปรตีนและสารปนเปื้อนจากน้ำทิ้งของการนึ่งปลาจากโรงงานปลาทูน่ากระป๋องด้วย Colloid Gas Aphrons

24. ปริมาณโลหะหนักบางชนิดในเนื้อปลาทูน่า จากมหาสมุทรอินเดีย

25. การพยากรณ์มูลค่าการส่งออกปลาทูน่ากระป๋อง โดยวิธีอารีมา

26. การประมงและชีววิทยาปลาทูนาบริเวณมหาสมุทรอินเดีย

27. การใช้ประโยชน์จากหัวและก้างจากกระบวนการผลิตปลาทูน่ากระป๋องในการทำผงโรยข้าวสำเร็จรูป

28. การสะสมของปรอทในปลาทูน่าครีบเหลือง [Thunnus albacares]

29. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้มยำปลาทูน่ากึ่งสำเร็จรูป

30. ผลของสารโพลีเมอร์ เอนไซม์ไลเพส และเกลือน้ำดีต่อการปลดปล่อยกรดไขมันโอเมก้า-3 จากอิมัลชันแบบผิวสัมผัสสองชั้นของน้ำมันปลาทูน่า

31. การศึกษาตลาดนำเข้าปลาทูน่าแช่แข็งในประเทศไทย

32. เอนไซม์โปรตีเนสจากลำไส้ปลาทูน่าพันธุ์โอแถบ: การทำบริสุทธิ์และการจำแนกคุณลักษณะ

33. การศึกษาผลของไคโตแซนต่อความคงตัวและโครงสร้างจุลภาคของอิมัลชันน้ำมันปลาทูน่าที่ทำให้คงตัวด้วยเลซิทิน

34. การใช้น้ำนึ่งปลาจากการผลิตของโรงงานปลาทูน่ากระป๋อง เป็นแหล่งโปรตีนทดแทนปลาป่นในอาหารสำหรับเลี้ยงปลาสวายเนื้อขาว

35. การสำรวจทรัพยากรปลาทูน่าด้วยเครื่องมืออวนล้อมจับบริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก โดยเรือสำรวจประมงมหิดล

36. การสำรวจทรัพยากรสัตว์น้ำด้วยเครื่องมือเบ็ดราวปลาทูน่าบริเวณไหล่ทวีปในทะเลอันดามัน

37. ผลจับปลาทูน่าจากเรืออวนล้อมจับของไทยบริเวณมหาสมุทรอินเดีย ระหว่างปี 2548-2550

38. องค์ประกอบชนิด ปริมาณการจับและชีววิทยาบางประการของปลาทูน่าท้องแถบ [Katsuwonus pelamis] ปลาทูน่าครีบเหลือง [Thunnus albacares] และปลาทูน่าตาโต [T. obesus] บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ตะวันออก พ.ศ.2544-2545

39. สมุทรศาสตร์การประมงในแหล่งสำรวจปลาทูน่าบริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก

40. ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเสริมน้ำมันปลาทูน่าและวิตามินอีในอาหารเพรียงทราย (Perinereis nuntia, Savigny 2818)

41. การสกัดกรดไฮยาลูโรนิคจากลูกตาปลาทูน่าและปลานิล

42. การศึกษาการเตรียมและการแยกเปปไทด์ที่มีกิจกรรมการต้านออกซิเดชันของโปรตีนไฮโดรไลเสตจากเครื่องในปลาทูน่า

43. ชีววิทยาบางประการของปลาทูน่าท้องแถบ (Katsuwonus pelamis) และปลาทูน่าครีบเหลือง (Thunnus albacares) ที่จับได้จากเครื่องมืออวนล้อมจับของเรือสำรวจประมงมหิดล บริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก

44. ผลของสัดส่วนน้ำมันถั่วเหลืองและน้ำมันปลาทูน่าในอาหารทีมีข้าวโพด และกากถั่วเหลืองเป็นส่วนประกอบหลัก ต่อสมรรถนะการผลิตของไก่ไข่ และอัตราส่วนระหว่างกรดไขมันชนิดโอเมก้า-6 และโอเมก้า-3 ในไข่แดง

45. ผลจับปลาทูน่าของเรือประมงอวนล้อมจับของไทยในมหาสมุทรอินเดีย ระหว่างปี 2551-2552

46. องค์ประกอบในกระเพาะอาหารของปลาทูน่าที่จับได้ด้วยเครื่องมืออวนล้อมจับ บริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก

47. องค์ประกอบชนิดและอัตราการติดเบ็ดของสัตว์น้ำจากเครื่องมือเบ็ดราวปลาทูน่า บริเวณ Ninety East Ridge ในมหาสมุทรอินเดีย

48. ชีววิทยาบางประการของปลาทูน่าท้องแถบ (Katsuwonus pelamis) และปลาทูน่าครีบเหลือง (Thunnus albacares) ที่จับได้จากเครื่องมือวนล้อมจับของเรือสำรวจประมงมหิดล บริเวณมหาสมุทรอินเดียตะวันออก

49. การศึกษาเพื่อลดระยะเวลาการละลายแบบจุ่มของปลาทูน่าแช่แข็ง

50. ความสัมพันธ์ของฮีสตามีนเริ่มต้นในปลาทูน่า skipjack (Katsuwonus pelamis) และระยะเวลาในการผลิตต่อการสร้างฮีสตามีนในผลิตภัณฑ์

Recent Posts