กรมหม่อนไหม TEXT

301. การเพิ่มเปอร์เซ็นต์การฟักไข่ไหมพันธุ์ไทยด้วยน้ำอุ่น

302. การรวบรวมและบำรุงรักษาเชื้อพันธุ์กรรมของไหม

303. ศึกษาความยาวของท่อนพันธุ์ที่เหมาะสมในการปักชำของหม่อน 3 พันธุ์

304. การเปรียบเทียบการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมบรรจุกล่องชนิด Sokushin โดยใช้อุณหภูมิและเวลาที่จุ่มกรมเกลือต่างกัน

305. การศึกษาชีพจักรของไหมซึ่งฟักโดยไม่ผ่านการผสมพันธุ์ (Artificial parthenogenesis)

306. การศึกษาชีพจักรของไหมซึ่งฟักโดยไม่ผ่านการผสมพันธุ์ (Artificial Parthenogenesis)

307. การรวบรวมและอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมไหมพันธุ์แท้ พันธุ์คัดที่ฟักปีละ 2 ครั้ง

308. โครงการวิจัยพัฒนาบะหมี่โปรตีนไหมและแยมโรลผงชาหม่อน

309. การศึกษาคุณลักษณะของไหมพันธุ์ฟักตลอดปี

310. การสำรวจการเลี้ยงไหมวัยอ่อนแบบรวมกลุ่มที่นิคมสร้างตนเองพิมายปราสาท และบ้านกรวด

311. การทดสอบฟักเทียไข่ไหมชนิดไฮเบอร์เนทหลังจากเก็บในห้อง 5°ซ. 105-125 วัน

312. การคัดเลือกและปรับปรุงไหมพันธุ์แท้ที่ฟักปีละ 2 ครั้ง 4 พันธุ์

313. การเลี้ยงไหมเปรียบเทียบระหว่างไข่ไหมซึ่งได้จากการเก็บรักษาและการฟักเทียมที่ต่างกัน

314. ศึกษาการเกิดโรคไหมจากรังไหมของนิคมสร้างตนเองและ อื่นๆ

315. การเปรียบเทียบการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Reishin โดยการใช้วิธีการเก็บรักษาที่ต่างกัน

316. การศึกษาลักษณะประจำพันธุ์และรักษาพันธุ์ของไหมพันธุ์จีนที่ฟักปีละ 2 ครั้ง

317. การทดลองฟักเทียมไข่ไหมหลังจากที่เก็บ 5 ° ซ ในช่วงระยะสั้น

318. การทดลองถึงผลการเก็บกักแด้ตัวเมียในห้องเย็นต่อการวางไข่ของแม่ผีเสื้อตัวเมีย

319. การปรับปรุงพันธุ์ไหมสายพันธุ์จีนและญี่ปุ่นให้เหมาะสมกับการเลี้ยงในเขตร้อน

320. วิจัยและพัฒนาพันธุ์ไหมไทยลูกผสมเดี่ยวให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ภาคเหนือ

321. การผลิตเส้นไหมไทย ตามมาตรฐาน มกอช. 8000-2548

322. เปรียบเทียบพันธุ์หม่อนสำหรับการเลี้ยงไหมพันธุ์ลูกผสม K1xK14

323. โครงการวิจัยและพัฒนาอารักขาไหม

324. การรวบรวมอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมไหมชนิดฟักปีละ 2 ครั้ง

325. การศึกษาลักษณะของไหมลูกผสมชั่วที่ 2 ซึ่งฟักปีละ 2 ครั้ง

326. การศึกษาลักษณะของไหมลูกผสมชั่วแรกซึ่งฟักปีละสองครั้ง

327. การทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างช่วงเวลาที่เก็บไข่ไหมในห้องเย็นกับเปอร์เซ็นต์การฟักออกของไข่ไหม

328. ศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม

329. การรวบรวมและบำรุงรักษาเชื้อพันธุกรรมของไหม

330. การทดลองใช้ Methoprene ในการเพิ่มผลผลิตรังไหมของเกษตรกร

331. การทดสอบประสิทธิภาพในการให้ลูกผสมระหว่างไหมพันธุ์แท้

332. การเปรียบเทียบการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Sokushin โดยใช้อุณหภูมิและเวลาที่จุ่มกรดเกลือต่างกัน

333. แสดงข้อมูลผลผลิตรังไหมและรายได้ของเกษตรกร

334. ศึกษาคุณลักษณะทางการเกษตรของไหมไทยลูกผสมพันธุ์ฟักตลอดปี

335. การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจากใบหม่อน

336. การศึกษาวิธีการปฏิบัติขณะหนอนไหมลอกคราบ

337. วิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม และอาหารชนิดใหม่จากหม่อน

338. การทดลองหาเปอร์เซนต์การฟักออกของไข่ไหมที่เก็บไว้ในห้องเย็นในช่วงระยะเวลาที่แตกต่างกัน

339. ศึกษาวิธีเขตกรรมในสวนหม่อน

340. การศึกษาอัตราของคลอเดนในการป้องกันกำจัดด้วงเจาะลำต้นหม่อนหลังการตัดต่ำ

341. การศึกษาคุณภาพผลผลิตเส้นไหมโรงสาวไหมชุมชน

342. การเปรียบเทียบไหมไทยลูกผสมเชิงเดี่ยวรังสีขาว

343. เปรียบเทียบผลผลิตรังไหมในฤดูกาลต่างๆ ของเกษตรกรที่เลี้ยงไหมวัยที่ 5 โดยไม่ถ่ายมูลและถ่ายมูลเมื่อเลี้ยงทั้งกิ่ง

344. การพัฒนาวิธีการทดสอบความคงทนของสีต่อการซักผ้าไหมตรานกยูงพระราชทาน

345. การทดลองทาบกิ่งหม่อนดีกับต้นตอที่ต้านทานโรครากเน่า

346. การทดลองใช้สารเคมีปราบวัชพืชในสวนหม่อน

347. การศึกษาพิษวิทยาของสารสกัดผลหม่อน

348. ผลของการใช้ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยคอก และปูนขาว ต่อผลผลิตหม่อนในระยะยาว(ระยะที่3)

349. ศึกษาการย้อมสีไหมด้วยผลมะเกลือ

350. การศึกษาต้นทุนการผลิตไหมไทยตลอดห่วงโซ่การผลิต

351. ทดสอบไหมพันธุ์ไทยลูกผสมในท้องถิ่นต่างๆ

352. ศึกษาผลของกรดและเกลือต่อการดูดซึมสีมะเกลือของผ้าไหม

353. เปรียบเทียบพันธุ์หม่อนลูกผสมชุดที่ 2 ในสถานที่ต่างๆ

354. การหาผลผลิตในหม่อนที่ตัดต่ำในฤดูต่างๆ

355. การสำรวจลักษณะบางประการของหม่อนพันธุ์พื้นเมือง

356. ระบบการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมผสมผสานกับการเลี้ยงปลา

357. ศึกษาระยะดักแด้ไหมที่มีคุณค่าทางโภชนาการ

358. ศึกษาการผลิตผงไหมชนิดไม่ละลายน้ำ

359. การแสดงออกของยีนกลุ่ม Heat shock protein ของหนอนไหม Bombyx mori L.

360. การรวบรวมและบำรุงรักษาเชื้อพันธุกรรมไหม

361. การรวบรวมและจำแนกศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ไหมเพื่อการใช้ประโยชน์

362. การทดลองใช้จูวีไนฮอร์โมนในการเพิ่มผลผลิตรังไหม พันธุ์ K1xK8

363. การปรับปรุงพันธุ์ไหมไทย 4 สายพันธุ์ (ลูกผสมคู่ : Double cross hybrid) ต้านทานโรคแกรสเซอรี่ : การเปรียบเทียบพันธุ์ในระดับท้องถิ่นต่างๆ และการเปรียบเทียบพันธุ์ในภาคเกษตรกร

364. ผลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกในการฟื้นฟูสภาพแปลงหม่อนที่ขาดการบำรุงดิน

365. การสร้างพันธุ์แท้จากการผสมพันธุ์ไหมพันธุ์แท้ 2 พันธุ์ และการผสมกลับ

366. การศึกษาคุณลักษณะของไหมลูกผสมเชิงเดี่ยวชั่วแรก สายพันธุ์ญี่ปุ่นเพื่อการใช้เป็นพันธุ์ขยาย

367. ปริมาณน้ำที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตหม่อน

368. การแข่งขันของวัชพืชในแปลงหม่อน

369. คัดเลือกพันธุ์ไหมพันธุ์ไทยลูกผสมที่เหมาะสมกับการเลี้ยงด้วยอาหารเทียม

370. ปรับปรุงเครื่องสาวไหมยูบี 2 และลักษณะเฉพาะของเส้นใย

371. การสกัดคลอโรฟิลด์จากมูลไหมและการพัฒนาผลิตภัณฑ์

372. การรวบรวมและอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมของไหมพันธ์แท้ที่ฟักปีละ2ครั้งในภาคเหนือ

373. การสร้างประชากรไหมพันธุ์สังเคราะห์จากสายพันธุ์แท้ฟักออกตลอดปี

374. การทดสอบพันธุ์ไหมลูกผสมในสถานีทดลองไหม

375. การจัดทำลายพิมพ์ ดี เอ็น เอ ของพันธุ์ไหมไทยชนิดฟักตลอดปี โดยวิธี RAPD ระยะที่ 1

376. เปรียบเทียบคุณภาพใบหม่อน 4 ชนิดในการเลี้ยงไหม

377. การสำรวจคุณภาพไหมเส้นพุ่งในภาคเกษตรรายย่อย

378. การผลิตเส้นบะหมี่จากใบหม่อนพันธุ์บุรีรัมย์ 60

379. ศึกษาการทำแผ่นใยไหมจากหนอนไหม

380. การศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตหม่อนไหม เพื่อนำไปปฏิบัติตามในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตในระดับเกษตรกร

381. ศึกษาการกำจัดวัชพืชโดยสารเคมีกำจัดวัชพืชในสวนหม่อน

382. ชุดดินปลูกหม่อนเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

383. การย้อมสีเส้นไหมที่สาวจากไหมพันธุ์ไทยพื้นเมืองจากสีธรรมชาติให้เกิดความมันวาวและเกิดความคงทน

384. การรวบรวมและปรับปรุงพ่อแม่พันธุ์ไหมต้านทานโรคแกรสเซอรี่

385. การศึกษาและปรับปรุงพันธุ์ไหมไทยพื้นบ้านตามภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อเพิ่มปริมาณคุณภาพรังไหมและเส้นไหมภาคเกษตรกร

386. ศักยภาพของดักแด้ไหมในการเพิ่มการเรียนรู้และความจำและการปกป้องสมอง

387. การวิจัยและพัฒนาการปรับปรุงพันธุ์ไหมให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ภาคต่างๆ ของประเทศไทย

388. การทดลองเลี้ยงไหมวัยอ่อนพันธุ์ K1xK14 ด้วยใบหม่อนที่ใช้ปุ๋ยยูเรียทางใบ

389. การศึกษาลักษณะบางประการของหม่อนลูกผสมสายพันธุ์ญี่ปุ่น

390. การปรับปรุงพันธุ์หม่อนเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพชุดที่ 2 คัดเลือกครั้งที่ 2

391. การศึกษาศักยภาพในการแปรรูปผลหม่อนเป็นผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพในการป้องกัน และลดการทำลายของเซลล์ประสาทและความบกพร่องของความจำใน Alzheimer?s disease

392. การใช้ dsRNA เพื่อยับยั้งการเกิดโรคแกรสเซอรี่ในหนอนไหม(Bombyx mori) โดยเทคนิค RNA interference

393. โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาไหมป่าอีรี่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

394. โครงการวิจัยการปรับปรุงพันธุ์ไหมที่ต้านทานโรคแกรสเซอรี่ และพัฒนาเทคโนโลยี การป้องกันโรคแกรสเซอรี่ในภาคเกษตรกร

395. ทดสอบพันธุ์หม่อนต้านทานโรครากเน่าในไร่เกษตรกร

396. การศึกษาต้นทุนการใช้กิ่งหม่อนเพาะเห็ดนางรม

397. ศึกษาคุณสมบัติของรังไหมต่างประเทศลูกผสมในการสาวเพื่อจัดเกรด

398. เปรียบเทียบพันธุ์ไหมลูกผสมต่างประเทศพันธุ์ใหม่ 4 พันธุ์ในท้องถิ่นต่างๆ

399. ศึกษาหาสารเคมีที่เหมาะสมในการแช่เส้นไหม

400. เปรียบเทียบผลตอบแทนในการลงทุนผลิตไหมในเชิงอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

Recent Posts