กรมหม่อนไหม TEXT

201. การตรวจสอบคุณภาพรังไหมของกสิกร ในปี 2522

202. การตรวจคุณภาพรังไหมของกสิกร ในปี 2523

203. การศึกษาหาปริมาณการวางไข่ของไหมพันธุ์ไทยใน ฤดูต่างกัน

204. ศึกษาคุณลักษณะของพันธุ์ไหมที่เกิดจากกรรมวิธี การสร้างพันธุ์ที่ต่างกัน

205. ความสัมพันธ์ของอัตราปุ๋ยต่อคุณภาพของใบหม่อนและเส้นไหมพันธุ์ (KT1 x KT21) x (K18 x K8)

206. ศึกษาปฏิกิริยาของหม่อนพันธุ์ลูกผสมต่อโรคราสนิม

207. การตัดส่วนปลายกิ่งหม่อนคุณไพในช่วงเวลาต่างๆ ที่มีผล ต่อการติดตาหม่อนนครราชสีมา 60 และบุรีรัมย์ 60

208. ศึกษาถึงการคัดเลือกรังไหมที่มีต่อความเรียบและความสะอาดของเส้นไหม

209. การศึกษาปัญหาและอุปสรรคการสาวไหมเส้นยืนของ โรงงานสาวไหมเอกชน

210. การเปรียบเทียบคุณสมบัติของไหมพันธุ์แท้ พันธุ์ลูกผสมชั่วที่1 และพันธุ์ลูกผสมชั่วที่2 ในแง่ของการผลิตไข่ไหม

211. ผลของการขนส่งไข่ไหมในระยะการเจริญเติบโตของตัวอ่อนต่างกันต่อผลผลิตรังไหม

212. ศึกษาการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชในแปลงหม่อน 1. การควบคุมวัชพืชและผลผลิตใบหม่อน

213. การฉายรังสีตาหม่อนก่อนการติดตา

214. การทดลองหาความสัมพันธ์ของอุณหภูมิของน้ำในอ่างสาวไหมที่มีผลต่อประสิทธิภาพและเปอร์เซ็นต์การสาวออกของรังไหม

215. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการลดลงของน้ำหนักรังไหมสดกับเปอร์เซนต์เปลือกรังซึ่งมีผลต่อราคารังไหม

216. การทดลองชั้นมูลฐานในการทำไหมจุรีและดักแด้

217. เปรียบเทียบการเลี้ยงไหมซึ่งได้จากการผสมของตัวผู้หลายๆ ครั้ง

218. การศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ของไหมพันธุ์จีนที่ฟักปีละ 2 ครั้ง

219. การเปรียบเทียบความแข็งแรงและผลผลิตของไหม พันธุ์จีนที่ฟักปีละ 2 ครั้ง

220. การศึกษาคุณลักษณะของไหมลูกผสมชั่วแรก

221. การศึกษาคุณลักษณะของไหมพันธุ์จีนพันธุ์ใหม่

222. ศึกษาผลของการใช้เครื่องสูบน้ำฉีดพ่นทำลายเชื้อโรค ในห้องเลี้ยงไหมของเกษตรกร

223. การทดลองยกร่องปลูกหม่อนในสภาพดินที่เกิดน้ำท่วมในฤดูฝน

224. การเปรียบเทียบลักษณะนิสัยของไหมลูกผสมชั่วที่1 และไหมลูกผสมชั่วที่2

225. ความสัมพันธ์ของช่วงเวลาการเก็บไข่ไหมที่ 25 °C และ 5 °C ของไข่ไหมชนิด Hibernate

226. เปรียบเทียบไหมไทย 5 พันธุ์

227. การทดสอบคุณภาพรังไหมในการใช้จ่อลวด, จ่อพลาสติก, จ่อกก และจ่อหมุน

228. การทดลองสาวรังไหมที่ใช้วัสดุคลุมจ่อด้วยกระดาษ หนังสือพิมพ์

229. การศึกษาลักษณะประจำพันธุ์และรักษาพันธุ์ของไหม พันธุ์ญี่ปุ่นที่ฟักปีละ 2 ครั้ง

230. การทดลองใช้ Juvinile Hormone (Manta) ในการเพิ่มผลผลิตรังไหม พันธุ์ K1xK14

231. ศึกษาวิธีการผลิตและเก็บผงหม่อนให้มีคุณภาพสำหรับทำอาหารเทียมเลี้ยงไหม

232. การเปรียบเทียบคุณภาพในแง่สาวไหมของรังไหมพันธุ์ต่างๆ ของศูนย์วิจัยและอบรมไหมนครราชสีมา

233. ข้อมูลบางประการของไหมป่า

234. การทดสอบวิธีการเลี้ยงไหมพันธุ์ลูกผสมชั่วแรก

235. การเปรียบเทียบไหมไทยลูกผสมเชิงเดี่ยว

236. ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการตีราคารังไหมด้วย เปอร์เซ็นต์เปลือกรังกับการตีราคารังไหมด้วย เปอร์เซ็นต์เส้นใยที่สาวได้จริงจากรังไหม

237. การปรับปรุงพันธุ์ไหมไทยชนิดฟักตลอดปี (Polyvoltine x Polyvoltine) 4 สายพันธุ์ (Double cross) ต้านทานโรคแกรสเซอรี่ : การเปรียบเทียบพันธุ์เบื้องต้น

238. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างช่วงเวลาการเก็บไข่ไหม 5 °C และเวลาในการจุ่มกรดของไข่ไหมชนิด Reishin

239. การศึกษาหาระยะเวลาเก็บไหมสุกที่เหมาะสมเพื่อหา ประสิทธิภาพในการผสมของไหมตัวผู้และการวางไข่ของผีเสื้อตัวเมีย

240. ศึกษาช่วงระยะเวลาที่เก็บไข่ไหม 5 องศาเซลเซียสหลังจากฟักเทียม แบบ Sokushine ของไข่ไหมชนิดบรรจุกล่อง

241. เปรียบเทียบพันธุ์หม่อนเพื่อการเก็บเกี่ยวผลผลิตผลหม่อน

242. การทดลองอบโรงเลี้ยงไหมวัยแก่ด้วยฟอร์มาลีนที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน

243. ระบบการให้น้ำหม่อนที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตหม่อน

244. ศึกษาและทดสอบคุณภาพเส้นไหมดิบของโรงงาน สาวไหมในประเทศไทย

245. การศึกษาคุณสมบัติพื้นฐานของเส้นไหมพันธุ์ไทย

246. การทดลองหาผลผลิตใบหม่อนที่ได้จากการเก็บเกี่ยววิธีต่างๆ จากแปลงตัดต่ำและตัดกลางต้น

247. ศึกษาถึงผลตอบสนองของปุ๋ย N-P-K ต่อผลผลิตของใบ หม่อน

248. การศึกษาลักษณะของไหมลูกผสมสี่สายพันธุ์

249. ทดลองเลี้ยงไหมแบบใช้ส่วนต่างๆ ของกิ่ง

250. การศึกษาลักษณะของไหมลูกผสมสามและสี่สายพันธุ์

251. การทดสอบวิธีการเลี้ยงไหมลูกผสมชั่วแรก

252. การศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ของไหมพันธุ์แท้ที่นำมา จากต่างประเทศ

253. รวบรวม จำแนก ศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้าน

254. การศึกษาระยะเวลาการเจริญเติบโตและระยะดักแด้ของไหมพันธุ์ที่ใช้ผลิตไข่ไหมในศูนย์วิจัยและอบรมไหมนครราชสีมา

255. ศึกษาถึงการละลายเซริซินของรังไหมสดและรังไหมอบแห้งในน้ำ

256. การเปรียบเทียบพันธุ์ไหมลูกผสมสี่สายเลือดระหว่างสถานี

257. อิทธิพลของอุณหภูมิและเวลาที่จุ่มกรดเกลือต่างกันต่อการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Sokushin ของไข่ไหมลูกผสมระหว่างพันธุ์ไทยกับต่างประเทศ

258. การหาอัตราความเร็วที่เหมาะสมของเครื่องสาวอัตโนมัติแบบใหม่ที่จะสาวเส้นไหมให้ได้ขนาดสม่ำเสมอ

259. การศึกษาคุณลักษณะของไหมลูกผสมเชิงเดี่ยวของ ไหมพวกที่ฟักออกจากไข่สองครั้งต่อปีตามธรรมชาติ

260. การสร้างหม่อนผลสดพันธุ์ใหม่จากหม่อนพันธุ์จีน

261. การสร้างพันธุ์แท้ใหม่จากการผสมพันธุ์ไหมพันธุ์แท้ 2 พันธุ์ และการผสมกลับ

262. การใช้สารละลายฟอร์มาลีนและคลอรีน ก่อนเก็บไหม เข้าจ่อเพื่อป้องกันโรคแอสเปอร์จิลลัส

263. เทคนิคการเก็บไข่ไหมพันธุ์ไทย

264. การเปรียบเทียบผลผลิตของการเลี้ยงไหมบนชั้นเลื่อนในโรงเลี้ยงและนอกโรงเลี้ยง

265. การเปรียบเทียบอัตราความเร็วของเครื่องสาวไหมที่มีผลต่อความเนียวและการยืดตัวของเส้นไหม

266. การสร้างไหมพันธุ์แท้จากลูกผสมสายพันธุ์นางเหลือง x (กวางตุ้ง 34)4

267. วิธีการที่เหมาะสมในการใส่ไมคอร์ไรซ่าในแปลงหม่อนเพื่อเพิ่มผลผลิต

268. ทดสอบความคงทนของเชื้อราสาเหตุโรคไหมต่อสารฆ่าเชื้อ ที่เป็นของเหลว

269. การพัฒนาการผลิตผลหม่อนในน้ำเชื่อมบรรจุในบรรจุภัณฑ์ทนร้อนชนิดอ่อนตัว

270. การศึกษาถึงความสัมพันธ์ของการละลายของเซริซินในรังไหมที่เกิดขึ้นในสภาวะการต้มรังไหมๆ กัน

271. ศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บไข่ไหมให้ได้นาน ก่อนการฟักเทียมแบบฟักทันที

272. การสำรวจคุณภาพและผลผลิตรังไหมของเกษตรกรในเขตรับผิดชอบของศูนย์หม่อนไหมนครราชสีมา

273. การเปรียบเทียบพันธุ์ไหมลูกผสมต่างประเทศ ในสถานีทดลองหม่อนไหมเชียงใหม่

274. การศึกษาหาระยะเวลาในการเก็บรักษาไข่ไหมในช่วงเวลาต่างๆ กัน หลังจากฟักเทียมไข่ไหมแบบฟักทันที

275. ศึกษาวิธีการล้างไข่ไหมพันธุ์ไทยลูกผสมด้วยน้ำปูนขาว Ca(OH)2 หลังฟักเทียม

276. การศึกษาหาความเข้มข้นของเชื้อโรคแกสเซอรี่ที่ทำให้หนอนไหมตาย 50 เปอร์เซนต์ กับหนอนไหมวัยต่างๆ

277. เปรียบเทียบการเลี้ยงไหมในโรงเลี้ยงแบบประหยัดแบบเดิม (M 2) กับแบบปรับปรุงใหม่ (M 3)

278. การทดลองหาเปอร์เซ็นต์การฟักออกของไข่ไหมที่เก็บไว้ในอุณหภูมิ 5 °ซ. นาน 70 วัน แล้วนำมาเก็บไว้ในอุณหภูมิ 15 °C อีก 0-3 วัน

279. การทดลองเปรียบเทียบไหมไทย 5 พันธุ์

280. เปรียบเทียบการเลี้ยงไหมบนพื้นโรงเลี้ยงกับเลี้ยงบน โต๊ะโดยไม่ถ่ายมูลในวัย 5

281. เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของหนอนไหม ผลผลิต ของรังไหมและการวางไข่ของแม่ผีเสื้อ เพื่อใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัดเชื้อราต่างกัน

282. การศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อนในไข่ไหมชนิดฟักทันทีและหลังจากเก็บในห้องเย็นระยะเวลาหนึ่งสำหรับพันธุ์ K1 และ K8

283. การศึกษาคุณลักษณะของไหมลูกผสมสามสายพันธุ์ ของไหมพวกที่ฟักออกจากไข่สองครั้งต่อปีตามธรรมชาติ

284. แผนงานวิจัยและพัฒนาส่งเสริมการผลิตไหม

285. การออกแบบและประเมินโรงงานต้นแบบ สำหรับการแปรรูปผลหม่อน

286. การศึกษาหาความเข้มข้นของเชื้อแอสเปอร์จิลลัสที่ทำให้หนอนไหมตาย 50 เปอร์เซนต์ กับหนอนไหมวัยต่างๆ

287. การทดสอบคุณภาพรังไหมพันธุ์ต่างๆ ของศูนย์วิจัยและอบรม ไหมนครราชสีมาในแง่การสาวไหมในปี 2524

288. การเปรียบเทียบผลผลิตหม่อนที่เก็บเกี่ยว 3 ครั้ง กับ 4 ครั้ง ในเวลา 1 ปี

289. การสำรวจชนิดและปริมาณแมลงศัตรูหม่อนและตัวห้ำในรอบปี

290. อิทธิพลของอัตราปุ๋ยที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต หม่อนพันธุ์น้อยและพันธุ์นครราชสีมา 60

291. การทดลองหาจำนวนครั้งที่เหมาะสมในการถ่ายมูลไหมวัยที่ 5 พันธุ์ K1xK8

292. การรอบทำลายเชื้อโรคในโรงเลี้ยงไหมด้วยไอของ ฟอร์มาลีน

293. การยอมรับของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์จากผลหม่อน

294. สำรวจคุณภาพเส้นไหมยืนที่สาวได้จากรังเสีย

295. การทดลองใช้จูวีไนฮอร์โมนในการเพิ่มผลผลิตรังไหม พันธุ์ K1xK18

296. การศึกษาลักษณะของไหมลูกผสมชั่วแรก

297. การศึกษาสถานภาพอุตสาหกรรมไหมไทย

298. ศึกษาผลการฉีดฟอร์มาลีนในโรงเลี้ยงไหมวัยอ่อนที่มีต่อปริมาณของเชื้อแอสเปอร์จิลลัส และการเป็นโรคของหนอนไหม

299. การทดสอบประสิทธิภาพในการให้ลูกผสมระหว่างไหม พันธุ์แท้ที่ฟัก 2 ครั้งต่อปี

300. การศึกษาผลของรังสีแกมมาต่อการเพิ่มปริมาณไข่ไหม พันธุ์ไทย

Recent Posts