สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

จำนวน 76 เรื่อง

1. การพัฒนาการย้อมสีผ้าไหมแพรวาที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

2. แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกเพื่อพัฒนาชุมชนให้เป็นสังคมที่ปลอดคอร์รัปชันโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน: กรณีศึกษา ชุมชนในเขตบางเขน เขตสายไหม เขตดอนเมือง และเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร

3. การศึกษาคุณสมบัติของแผ่นเซริซินจากไหมอีรี่ผสมแป้งข้าวเจ้าสำหรับใช้ประโยชน์ในด้านการฆ่าเชื้อจุลชีพก่อโรคที่ผิวหนัง

4. การพัฒนานวัตกรรมเวชสำอางเพื่อการดูแลผิวจากสารสกัดไหมและหม่อน

5. แนวทางการยกระดับศักยภาพเกษตรกรผู้เลี้ยงไหมอีรี่ในเชิงอุตสาหกรรม

6. การศึกษาเชิงทดลองการเผาไหม้แบบขั้นและการเผาไหม้ซ้ำเพื่อการลดการปลดปล่อยก๊าซไนโตรเจนออกไซด์จากเตาฟลูอิไดซ์เบดที่ใช้เชื้อเพลิงชีวมวล

7. ผลของการใช้แคลเซียมออกไซด์ร่วมกับโลหะออกไซด์อื่นเป็นตัวพาออกซิเจนต่อการเผาไหม้แบบเคมิคอลลูปปิงของเชื้อเพลิงแก๊สและของแข็ง

8. ศึกษาสถานภาพการตลาดสินค้าไหมในประเทศอาเซียน

9. ออกแบบผ้าไหมมัดหมี่ลวดลายเรขศิลป์จากผังพื้นของปราสาทขอมในเขตอีสานใต้ ประเทศไทย

10. โครงการศึกษาประสิทธิภาพในการเผาไหม้และมลภาวะที่เกิดขึ้นในการใช้เชื้อเพลิงชีวมวลอัดเม็ดหลากชนิดในเตาเผาฟลูอิไดซ์เบดแบบทรงกรวย

11. เฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรครวงไหม้ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียของข้าวในประเทศไทย

12. การศึกษาโครงสร้างสัญฐาน คุณสมบัติทางความร้อน และการเผาไหม้ของวัสดุเหลือใช้จากปาล์มน้ำมัน เพื่อการเผาไหม้อย่างน่าเชื่อเถือและประสิทธิภาพสูงในเตาเผาฟลูอิไดซ์เบด

13. การพัฒนาวัสดุปิดแผลที่ประกอบด้วยโปรตีนกาวไหมเซริซินและไคโตซานไมโครสเฟียร์เพื่อกระตุ้นการหายของบาดแผล

14. ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านไหม ระยะที่ 2

15. การศึกษาพฤติกรรมทางไฮโดรไดนามิกส์และคุณลักษณะการเผาไหม้เชื้อเพลิงชีวมวลเดี่ยวและ การเผาไหม้เผาไหม้เชื้อเพลิงชีวมวลร่วมกับถ่านหินในเตาเผาไหม้ฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียนขนาด 50 kWth

16. การใช้เชื้อจุลินทรีย์ Bacillus subtilis สายพันธุ์ CaSUT007 ที่มีคุณสมบัติ phosphorus solubilizing ในการกระตุ้นการเจริญเติบโตและชักนำความต้านทานต่อโรคใบไหม้มันสำปะหลัง

17. เทคนิคการย้อมสีแบบจุ่มอัดบนผ้าไหมและผ้าฝ้ายด้วยการใช้สีย้อมจากธรรมชาติ

18. ห่วงโซ่อุปทานของสัตว์น้ำอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี กรณีศึกษาหอยลาย หอยตลับลาย หอยขาว และหอยไฟไหม้

19. การสังเคราะห์เซรามิกแบเรียมสตรอนเชียมไททาเนตโดยวิธีโซลเจลร่วมกับปฏิกิริยาการเผาไหม้

20. การวิจัยและคัดเลือกรังไหมไทยและไหมอีรี่สายพันธุ์ที่มีปริมาณสารฟลาโวนอยด์ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ต้านเอนไซม์ไทโรซิเนสสูงเพื่อการผลิตเครื่องสำอางในเชิงพาณิชย์

21. การประดิษฐ์เซรามิกเฟร์โรอิเล็กทริกที่อุณหภูมิต่ำด้วยวิธีการเผาไหม้

22. การพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการเผาไหม้สำหรับการประยุกต์ใช้สเปรย์ในเครื่องยนต์โดยใช้แบบจำลองสเปรย์ของโมเมนต์ของจำนวนละอองสเปรย์ขนาดต่างกัน

23. กลไกของฮอร์โมนจูวีไนล์ต่อการเปลี่ยนแปลงการทำงานของ 20-ไฮดรอกซีเอคไดโซนในการเกิด programmed cell death (PCD) และการกระตุ้นการแสดงออกของยีนที่ตอบสนองต่อฮอร์โมนเอคไดโซน, Broad-Complex gene (BR-C) ในต่อมสร้างไหมส่วนต้นของหนอนเยื่

24. ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านไหม

25. แบบจำลองการระบาดของโรคไหม้และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล

26. การเผาไหม้เชื้อเพลิงชีวมวลในเตาเผาไหม้แบบฟลูอิไดซ์เบด

27. กลไกการออกฤทธิ์ระดับโมเลกุลของโปรตีนจากพิษงูเขียวหางไหม้ (Cryptelytrops albolabris)

28. กระบวนการถนอมอาหารดักแด้ไหมอีรี่

29. ผลกระทบของเส้นใยไหมนาโนต่อการเคลื่อนที่ของเซลล์เพื่อการสมานแผล

30. ผลของกระบวนการเชื่อมโยงข้ามต่อคุณสมบัติทางกายภาพและชีวภาพของแผ่นฟิล์มโปรตีนกาวไหม

31. การออพติไมซ์การเผาไหม้ร่วมในฟลูอิดไดซ์เบดแบบหมุนเวียนของขยะพลาสติกและชีวมวล

32. ศึกษาการติดเชื้อแกรสเซอรี่ในหนอนไหมพันธุ์ไทยพื้นเมืองภายใต้สภาวะปลอดเชื้อโดยวิธีพีซีอาร์

33. การศึกษาระบบการผลิตไหมอีรี่ที่เหมาะสมสู่อุตสาหกรรม

34. การวิเคราะห์ราคาขายและจุดคุ้มทุนการผลิตเส้นไหมอีรี่ในงานหัตถกรรม

35. การพัฒนาเชื่อมโยงการผลิตไหมอีรี่จากภาคเกษตรสู่อุตสาหกรรมและตลาดทางเลือก

36. ความหลากหลายของเชื้อราสาเหตุโรคไหม้ (Pyricularia spp.) และการผลิตสารออกฤทธิ์ต้านรา สาเหตุโรคไหม้ของข้าว จากราเอนโดไฟท์ที่แยกได้จากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว

37. ารให้บริการไหมอีรี่เพื่อการดำเนินงานวิจัย ระยะที่ 3

38. การผลิตยางธรรมชาติที่ทนทานต่อการเผาไหม้และการเสื่อมสลายด้วยความร้อน

39. คุณสมบัติทางกายภาพและชีวภาพของฟิล์มปิดแผลที่ผลิตจากโปรตีนกาวไหม

40. การศึกษากระบวนการผลิต กิจกรรมเพิ่มมูลค่า และต้นทุนการผลิตรังไหม และเส้นไหมอีรี่ในระดับฟาร์ม

41. การพัฒนาแผ่นฟิล์ม PVP ผสมโปรตีนไหมและสารสกัดจากพืชเพื่อใช้เป็นวัสดุรักษาบาดแผล

42. การพัฒนาและศึกษาการเผาไหม้เชื้อเพลิงชีวมวลร่วมในเตาเผาฟลูอิไดซ์เบดทรงกรวย

43. การพัฒนาแผ่นแปะไฟโบรอินที่ได้จากรังไหมผสมสารสกัดจากว่านหางจระเข้เพื่อใช้ในการสมานแผลและลดการอักเสบ

44. การศึกษาคุณสมบัติผงโปรตีนจากรังไหมเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการเตรียมเครื่องสำอาง

45. การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่มีส่วนผสมโปรตีนไฮโดรไลเสทจากไหมอีรี่

46. การให้บริการไหมอีรี่ ระยะที่ 2

47. การวิจัยเชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนากรรมวิธี/เครื่องมือในการผลิตเส้นไหมอีรี่และผลิตภัณฑ์จากไหมอีรี่

48. การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและใช้ประโยชน์ไหมอีรี่

49. การใช้ประโยชน์ของไหมป่าอีรี่ Philosamia ricini (Hutt.) (Lepidoptera: Saturniidae) ในการเพาะเลี้ยงแมลงศัตรูธรรมชาติ

50. การพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงไหมอีรี่ในระดับเกษตรกร และการสร้างผลิตภัณฑ์จากไหมอีรี่เป็นสินค้าประจำตำบล

51. การสร้างและการพัฒนาเครื่องจักรเพื่อการผลิตเส้นไหมอีรี่

52. การแยกและใช้ประโยชน์โปรตีนไหมจากน้ำกาวจากกระบวนการสาวไหม

53. การพัฒนาผ้าไหมอีรี่ล้วนด้วยเครื่องจักรอุตสาหกรรมสิ่งทอ

54. การตรวจสอบลักษณะเฉพาะและวิเคราะห์ส่วนประกอบของไหมไทย

55. การผลิตด้ายปั่นไหมอีรี่ผสมฝ้ายในระดับหัตถอุตสาหกรรม

56. การศึกษาองค์ประกอบ สมบัติทางชีวเคมีและการย่อยสลายของโปรตีนไหมพันธุ์ไทยพื้นเมือง เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ใช้เป็นวัสดุทางการแพทย์

57. ปริมาณไซยาไนด์ตกค้างและเลซิตินจากไหมป่าอีรี่

58. การศึกษาสมรรถนะทางความร้อนของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบไหลตามขวางภายใต้สภาวะฝุ่นเขม่าจากการเผาไหม้

59. การวิจัยและพัฒนาการผลิตโปรตีนไฮโดรไลเสทจากไหมอีรี่โดยเทคโนโลยีทางด้านด้านเอนไซม์

60. เตาเผาไหม้วอร์เทค-ฟลูอิไดซ์เบดโดยใช้เชื้อเพลิงแกลบในระดับห้องปฏิบัติการ

61. การให้บริการไหมอีรี่เพื่อการดำเนินงานวิจัย

62. การทำความเย็นแบบระเหยสำหรับโรงเลี้ยงหนอนไหม

63. แนวทางใหม่ในการทำโลหะมอแด้นท์สำหรับการย้อมสีธรรมชาติด้วยเทคโนโลยีชั้นสารอนินทรีย์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมที่ปลอดภัย

64. การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตไหมป่าอีรี่เพื่อการพัฒนาสู่อุตสาหกรรม

65. การเตรียมและการศึกษาคุณสมบัติของไฮโดรเจลที่เตรียมจากอนุพันธ์ของไคตินและโปรตีนจากเส้นใยไหม

66. การจำแนกสายพันธุ์ของหนอนไหมพื้นเมืองโดยใช้เครื่องหมายระดับโมเลกุล

67. การพัฒนาเทคนิคการย้อมไหมด้วยสีธรรมชาติจากครามและครั่ง

68. การนำเศษไหมมาใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

69. ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านไหม ระยะที่ 3

70. “แนวทางการสร้างเครื่องมือเพื่อบันทึกภาษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นชาวกูย ผ่านภูมิปัญญาการทอผ้าไหม” ชุมชนบ้านขี้นาค ต.ตูม อ.ปรางค์กู่ จ.ศรีสะเกษ

71. การพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพทอผ้าไหมแบบมีส่วนร่วมของทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่

72. การอนุรักษ์และสืบสานความรู้และกระบวนการผลิตผ้าไหมมัดหมี่สู่คนรุ่นใหม่บ้านหัวฝาย ตำบลปอแดง อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น

73. แนวทางการพัฒนาผู้ต้องขังให้เป็นครูสอนการทอผ้าไหมแบบมีส่วนร่วม ของทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่

74. การผลิตเส้นไหมเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนบ้านโพธิ์สามัคคี ตำบลพิมายเหนือ อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ

75. เครือข่ายการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบนวิถีวัฒนธรรมข้าวและไหมจังหวัดขอนแก่น

76. การพัฒนารูปแบบการผลิต การออกแบบ และส่งเสริมตลาดผลิตภัณฑ์สิ่งทอธรรมชาติจากเส้นใยไหมอีรี่และผลิตภัณฑ์จากดักแด้ไหมอีรี่อย่างยั่งยืน

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

Recent Posts