สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

201. การออกแบบและพัฒนาวัสดุประกอบอาคาร : กรณีศึกษาวัสดุประกอบผนังอาคารเพื่อลดการใช้พลังงานภายในอาคารจากยางพาราและฟางข้าว

202. การพัฒนาระบบกรีดยางพาราเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำยาง

203. การจัดการกลุ่มชุดดินที่ 45 ด้วยผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพของ กรมพัฒนาที่ดินเพื่อการเจริญเติบโตและผลผลิต ของยางพาราช่วงเปิดกรีด

204. การเตรียมแผ่นฟิล์มสปาจากยางพารา

205. การพัฒนาการเคลือบผิววัสดุคอมโพสิตธรรมชาติจากยางพาราผสมเส้นใยธรรมชาติสำหรับทำเป็นผลิตภัณฑ์บล็อกยางปูพื้นภายนอกอาคาร

206. การจัดการดินโดยใช้พืชบารุงดิน วัสดุปรับปรุงดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 และปุ๋ยเคมี ร่วมกับการปลูกต้นผักเหมียงเป็นพืชแซมยางพารา ในกลุ่มชุดดินที่ 45

207. พฤติกรรมภายใต้การดัดและการเฉือนของคานไม้ยางพาราประกอบเสริมกำลังด้วยวัสดุพอลิเมอร์เสริมเส้นใย

208. แนวทางเบื้องต้นในการเพิ่มบทบาทและศักยภาพการแปรรูปและพัฒนาระบบตลาดยางพาราในระดับเกษตรกร

209. การผลิตไซโลโอลิโกแซคคาไรด์จากขี้เลื่อยไม้ยางพารา

210. การใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าไม้ในการปลูกยางพาราในเขตพื้นที่จังหวัดเลย

211. การทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีในยางพาราด้วยปุ๋ยอินทรีย์จากหอยเชอรี่บดทั้งเปลือกและขี้เถ้ากาบมะพร้าว

212. การคัดเลือกเชื้อจุลินทรีย์ที่สามารถควบคุมเชื้อรา ที่ปนเปื้อนบนแผ่นยางพารา

213. ผลกระทบของสภาวะโลกร้อนที่มีต่อการผลิตยางพาราในภาคใต้: กรณีศึกษาในจังหวัดสงขลา (ระยะที่ 1)

214. ผลของการปลูกยางพาราต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีและกายภาพดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรณีศึกษา พื้นที่ปลูกยางพาราในจังหวัดขอนแก่นและจังหวัดบุรีรัมย์

215. การศึกษาวิจัยแนวทางการพัฒนายางพาราจังหวัดกาฬสินธุ์

216. พัฒนาจีโอพอลิเมอร์จากเถ้าไม้ยางพารา

217. การผลิตกล้ายางพาราจากสายต้นต้านทานโรครากขาวด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเมล็ดอ่อน ผ่านกระบวนการ โซมาติคเอ็มบริโอเจนิซิสเพื่อใช้เป็นต้นตอ

218. การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลตอบแทนทางการเงินของการลงทุน ระหว่างการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือกับภาคใต้

219. การใช้ระบบการกรีดแบบสองรอยกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำยางและลดอาการหน้ายางแห้งของยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

220. การพยากรณ์ปริมาณยางพาราเพื่อหาทำเลที่ตั้งอุตสาหกรรมยางใน 5 ปีข้างหน้า ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างกลุ่ม 2

221. โครงการทดสอบเทคโนโลยีการผลิตยางพาราที่เหมาะสม ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง

222. โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพาราสู่มาตรฐานสากล

223. เครือข่ายรับรู้ไร้สายสำหรับกระบวนการผลิตยางพารา

224. การพัฒนาระบบออกแบบรูปแบบการเลื่อย ระบบควบคุมการอัดน้ำยา ระบบควบคุมการอบ และเตาอบไม้ต้นแบบ สำหรับการผลิตไม้ยางพาราแปรรูปในโรงงานอุตสาหกรรม (โครงการต่อเนื่องระยะที่ 3)

225. การวิเคราะห์ธาตุอาหารในน้ำยางเพื่อประเมินสถานะธาตุอาหารในยางพารา

226. การประเมินผลกระทบของการใช้แก๊สเอทธิลีนต่อต้นยางพาราอายุน้อยที่เปิดกรีดแล้วเปรียบเทียบกับต้นยางพาราแก่

227. การใช้ยางพาราเป็นสารเติมแต่งของโคลนเจาะ

228. สำรวจและประเมินระดับความรุนแรงของโรคยางพารา

229. โครงสร้างของสังคมพืชและความหลากหลายทางชีวภาพของพืชที่กำลังฟื้นตัวในสวนเกษตรยางพาราในจังหวัดสงขลา และพัทลุง

230. แบบจำลองเพื่อการพยากรณ์ราคาผลผลิตทางการเกษตรในตลาดการซื้อขายล่วงหน้า: กรณีศึกษายางพารา

231. โครงการทดสอบเทคโนโลยีการผลิตยางพาราที่เหมาะสม ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

232. การประเมินเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมไม้ยางพาราไทย

233. การจัดการกลุ่มชุดดินที่ 45 ด้วยผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดินเพื่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของยางพาราในพื้นที่ภาคใต้ตอนบนของประเทศไทย

234. การเพิ่มผลผลิตของยางพาราพันธุ์ RRIM 600 และ RRIT 251 โดยใช้เทคนิคการกรีด

235. กลไกการขับเคลื่อนเครือข่ายทางสังคมเศรษฐกิจเชิงพื้นที่ของชาวสวนยางพารา กรณีศึกษา กลุ่มน้ำยางในหมู่บ้านควนจง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

236. การศึกษาการใช้น้ำหมักชีวภาพซุปเปอร์ พด.2 และปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง ในการป้องกันอาการเปลือกแห้งของยางพาราและเพิ่มผลผลิตน้ำยาง

237. การประยุกต์ใช้ระบบสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับตัดสินใจเลือกพื้นที่ปลูกยางพาราในจังหวัดกาฬสินธุ์

238. การรีไซเคิลน้ำเสียจากการแปรรูปยางพาราในชุมชน ด้วยระบบกลั่นพลังงานแสงอาทิตย์

239. การวิเคราะห์กระบวนการถ่ายเทความร้อนและการไหลหลาย สถานะในวัสดุพรุนไม้ยางพาราภายใต้พลังงานไมโครเวฟ เชิงทฤษฎีและประยุกต์

240. ผลของการจัดการดินที่เหมาะสมโดยการใช้พืชปุ๋ยสดร่วมกับปุ๋ยชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตยางพาราในกลุ่มชุดดินที่ 40

241. การศึกษาแนวทางการดำเนินการประกันภัยธรรมชาติสำหรับยางพารา

242. ความแปรปรวนและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในภาคใต้ของประเทสไทยที่มีผลต่อการผลิตยางพารา

243. การประเมินระดับธาตุอาหารหลักในดินและในใบยางพาราที่ปลูกในพื้นที่ดอนและที่ลุ่ม

244. ผลของการใช้ไมโครไนซ์ซิงค์ออกไซด์ในการเพิ่มประสิทธิภาพของสารดับเพลิง จากโปรตีนสกัดจากกากเนื้อในเมล็ดยางพารา เพื่อใช้ในการดับเพลิงประเภท Class B

245. การวิเคราะห์คุณภาพแผ่นยางพาราในโรงรมยางด้วยหลักการประมวลผลภาพ

246. การเพิ่มประสิทธิผลของนโยบายรัฐต่อเกษตรกรยางพาราในจังหวัดสุราษฎร์ธานี

247. แนวทางการจัดการสวนยางพาราที่เหมาะสมกับท้องถิ่น จังหวัดสุรินทร์ เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

248. ต้นทุนและผลตอบแทนของอุตสาหกรรมแปรรูปยางพารา จังหวัดสุราษฎร์ธานี

249. การใช้พืชตระกูลถั่วอาหารสัตว์เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำในสวนยางพาราปลูกใหม่

250. แนวทางการแก้ปัญหายางพาราเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ

251. แนวทางการพัฒนาโครงการแก้ไขปัญหายางพาราทั้งระบบปี 2556

252. การเปลี่ยนแปลงธาตุอาหารพืชในช่วงการพัฒนาในรอบปีของต้นยางพาราที่ปลูกในพื้นที่ดอนและที่ลุ่มในภาคใต้ของประเทศไทย

253. การปรับปรุงประสิทธิภาพการทวนสอบปริมาณการผลิตในโรงงานแปรรูปไม้ยางพารา

254. การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของอุตสาหกรรมไม้ยางพารา ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี

255. นวัตกรรมการเพิ่มมูลค่ายางพาราอย่างยั่งยืน

256. การวิเคราะห์ผลผลิตยางพาราในประเทศไทยโดยใช้ตัวแบบ Generalized estimating equations

257. การพัฒนาระบบบริหารจัดการเงินสงเคราะห์ (CESS) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรมยางพาราของประเทศไทย

258. โรงเรือนอบแห้งแผ่นยางพาราโดยใช้เตานํ้ามันเครื่องเก่าเป็นแหล่งความร้อน

259. สร้างและทดสอบเครื่องอบแห้งแผ่นยางพาราด้วยไมโครเวฟ

260. ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า กรณีศึกษาสินค้ายางพาราในเขตภาคใต้ตอนบน

261. การผสมหมึกโดยใช้น้ายางพาราดัดแปรผสมสีย้อมอินทรีย์ในการพิมพ์บนฟิล์มพลาสติกชีวภาพ

262. การศึกษาศักยภาพของเมล็ดยางพาราเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเชื้อเพลิงไบโอดีเซล ในเขตภาคใต้

263. การศึกษาและปรับปรุงคุณภาพการผลิตไม้อัดจากเปลือกเมล็ดยางพาราในท้องถิ่น

264. ผลิตภัณฑ์กระเบื้องยางพาราผสมเศษขยะพลาสติกเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม

265. โครงการ การคัดเลือกต้นตอยางพาราที่มีความทนทานต่อโรครากขาว

266. การผลิตยางพาราแผ่นแห้งจากน้ำส้มควันไม้ เปรียบเทียบกับกรดฟอร์มิกและกรดอะซีติก

267. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพาราภายใต้เครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการและหน่วยงานวิจัย

268. การใช้ความเค้นที่เกิดขึ้นในเนื้อไม้ระหว่างการอบควบคุมกระบวนการอบไม้ยางพารา

269. การพัฒนาชุดเตาอบยางพารารีดแผ่นด้วยลมร้อนจากเตาแก๊สซิไฟเออร์

270. ผลของการปลูกหญ้าแฝกเพื่อขยายพันธุ์เป็นพืชแซมที่มีต่อการเจริญเติบโตของยางพาราอายุน้อย

271. การประเมินความเหมาะสมของดินที่มีลูกรังต่อการปลูกข้าวและยางพาราในจังหวัดสกลนคร จังหวัดอุดรธานี จังหวัดหนองคาย และจังหวัดบึงกาฬ

272. การพัฒนาพอลิเมอร์ชีวภาพผสมระหว่างพอลีแลคติค แอซิดและยางพาราผสมน้ำมันหอมระเหยข่าสำหรับยึดอายุอาหารทะเลแช่แข็ง

273. ผลของการใช้ปุ๋ยชีวภาพขยายเชื้อจุลินทรีย์ที่ตรึงไนโตรเจน จุลินทรีย์ละลายฟอสฟอรัสและจุลินทรีย์ละลายโพแทสเซียมร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตของยางพาราช่วงก่อนเปิดกรีด

274. การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา การเจริญเติบโต และระบบราก ของยางพาราภายใต้ระดับการให้น้ำและปุ๋ยที่ต่างกัน

275. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพาราภายใต้เครือข่ายความร่วมือระหว่างผู้ประกอบการและหน่วยงานวิจัย

276. เปรียบเทียบพืชปุ๋ยสดชนิดต่างๆเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ในสวนยางพาราปลูกใหม่

277. การพัฒนาระบบอบแห้งยางพาราแผ่นโดยใช้โรงเรือนอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

278. โครงการ “ผลกระทบของการเปลี่ยนพื้นที่ปลูกพืชไร่เป็นพื้นที่ปลูกยางพาราบนพื้นที่ลาดชันในพื้นที่ลุ่มน้้าน่าน”

279. การศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย

280. การศึกษาและการสื่อสารของวิสาหกิจชุมชนข้าวไร่ในแปลงยางพารา เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน

281. โครงการวิจัย การรวมกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกยางพารา เพื่อความมั่งคงด้านอาชีพเกษตรกรอย่างมีส่วนร่วม บ้านโนนโพธิ์ ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

282. การประยุกต์ใช้วัสดุเหลือทิ้งทางชีวภาพเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธ์สำหรับการ ผลิตไบโอดีเซลอย่างต่อเนื่องในเครื่องปฏิกรณ์ชนิดเบดนิ่งจากน้ำมันเมล็ดยางพารา

283. โครงการ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของชุมชนในการดูแล สุขภาพเกษตรกรสวนยางพารา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

284. โครงการ “การรับรู้ผลกระทบและการปรับตัวของเกษตรกรชาวสวนยางพารา และอุตสาหกรรมยางพาราจากการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน – กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา”

285. การศึกษาเปรียบเทียบวอเตอร์และคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของยางพาราแผ่นที่ผลิตในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้

286. โครงการ “การรับรู้ผลกระทบและการปรับตัวของเกษตรกรชาวสวนยางพาราและอุตสาหกรรมยางพาราจากการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรณีศึกษาจังหวัดสงขาลา”

287. แบบจำลองเพื่อการตัดสินใจสำหรับการจัดการโซ่อุปทานยางพารา

288. การปรับปรุงสมบัติเชิงกลของยางพาราด้วยการเติมอนุภาคนาโนคาร์บอน

289. แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

290. หุ่นจำลองยางพาราสำหรับตรวจสอบความถูกต้องปริมาณรังสีจากการรักษาโรคมะเร็งด้วยเทคนิคการรักษาสามมิติ

291. การสกัดน้ำมันจากเมล็ดต้นยางพาราสำหรับการผลิตไบโอดีเซลโดยใช้ไดเมธิลอีเทอร์เหลว

292. โครงการ การศึกษาสมดุลคาร์บอนและน้ำ เพื่อใช้เป็นข้อมูลทำคาร์บอนฟุตปริ้นต์และวอเตอร์ฟุตปริ้นต์ ของสวนยางพารา ระยะที่ 4

293. การดำเนินงานและผลกระทบของศูนย์ควบคุมยางเชียงราย ต่อผู้ประกอบธุรกิจยางพาราในภาคเหนือ

294. การประยุกต์ใช้ยางพาราและดินซีเมนต์สำหรับงานก่อสร้างถนน

295. โครงการการวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานยางพาราไทยกับมาเลเซีย เพื่อแสวงหาแนวทางปฏิบัติที่ดีและสนองความต้องการของตลาดโลก

296. โครงการ การใช้ตลาดซื้อขายยางพาราล่วงหน้าของเกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อย เพื่อป้องกันความเสี่ยง

297. การศึกษาศักยภาพเศรษฐกิจสินค้าเกษตรเพื่อรองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรณีศึกษา : สินค้ายางพารา

298. การติดตาม วิเคราะห์และเพิ่มประสิทธิภาพการสนับสนุนงานวิจัยยางพารา ประจำปีงบประมาณ 2558 และการทบทวนเพื่อเตรียมการจัดทำยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติฉบับใหม่ (พ.ศ. 2560 – 2564)

299. การสังเคราะห์ผลการวิจัยยางพารา ประจาปีงบประมาณ 2558 และการทบทวนเพื่อจัดทาร่างยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติฉบับใหม่ (พ.ศ.2560 –2564)

300. โครงการ ลูกบอลยางพาราสำหรับการใช้งานด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ

Recent Posts