สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

101. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการส่งออกยางพาราของประเทศไทย

102. ความสัมพันธ์ระหว่างการแสดงออกของยีนไฮดรอกซีเมธิลกลูตาริล โคเอนไซม์เอซินเทสและผลผลิตยางในยางพารา

103. การศึกษากระบวนการจัดการโลจิสติกส์ของยางพารา เพื่อการส่งออกไปจีน

104. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางพาราจากการจุ่มน้ำยาง-ถุงมือยางต้นทุนต่ำและยางรัดผมแฟชั่น

105. การปลูกพืชตระกูลถั่วแซมยางพารา : การทนแล้งและการปรับปรุงคุณสมบัติกายภาพและเคมีดิน

106. การเฝ้าระวังยุงพาหะนำโรคมาลาเรียเบื้องต้นในพื้นที่ปลูกยางพารา กิ่งอำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์

107. การประเมินผลโครงการปลูกยางพารา เพื่อยกระดับรายได้และความมั่นคงให้แก่เกษตรกร ในแหล่งปลูกยางใหม่ ระยะที่ 1 [พ.ศ.2547-พ.ศ.2549] : ศึกษากรณี จังหวัดเลย

108. การศึกษาการสัมผัสฝุ่นไม้ยางพาราที่เกิดจากการทำงานในโรงงานแปรรูป ไม้ยางพาราและอาการระบบทางเดินหายใจของผู้สัมผัสฝุ่นไม้ยางพารา(ระยะที่ 2)

109. การวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขัน การส่งออกยางพาราของประเทศไทย ไปสาธารณรัฐประชาชนจีน

110. การจำแนกพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับการปลูกยางพารา จังหวัดอุดรธานี

111. การประเมินผลโครงการปลูกยางพาราเพื่อยกระดับรายได้ และความมั่นคงให้แก่เกษตรกร ในแหล่งปลูกยางใหม่ระยะที่ 1 : ศึกษากรณี จังหวัดนครราชสีมา

112. การหาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตและกลั่นแยกน้ำส้มควันไม้จากไม้ยางพารา

113. เครื่องรีดแผ่นยางพาราป้อนแนวตั้งระบบพ่นน้ำทำความสะอาด

114. ศึกษาการกระตุ้นการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางลำต้นของต้นกล้ายางพารา

115. การศึกษาเอนไซม์พรีนิลทรานส์เฟอเรสในต้นยางพารา

116. การศึกษาความเป็นไปได้ ในการพัฒนายางทนน้ำมันไบโอดีเซล โดยใช้ยางพาราเป็นวัตุดิบร่วม

117. การพัฒนากาวสำหรับใช้ในงานติดไม้ยางพารา จากน้ำยางธรรมชาติอีพอกไซด์

118. การพัฒนาและการประยุกต์ใช้ถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยไม้ยางพารา

119. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : กรณีศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี [ระยะที่ 1]

120. การพัฒนากระบวนการอบที่มีประสิทธิภาพสูง ซึ่งเหมาะสมสำหรับประยุกต์กับเตาอบที่ใช้อยู่ในโรงงานอุตสาหกรรมไม้ยางพารา

121. การผลิตไบโอดีเซลจากเมล็ดยางพาราเป็นพลังงานทดแทน และการทดสอบสมรรถนะกับเครื่องยนต์

122. ศึกษาศักยภาพและกำหนดแนวทางในการพัฒนาการปลูกยางพารา

123. การสังเคราะห์ และศึกษาลักษณะถ่านพรุน และซิลิกอนคาร์ไบด์พรุนจากไม้ยางพารา

124. การผลิตถ่านกัมมันต์จากเนื้อเมล็ดยางพารา

125. การศึกษาการบำบัดน้ำทิ้งจากโรงงานแปรรูปไม้ยางพารา ด้วยปฏิกิริยาเฟนตัน เพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์ในรูปของปุ๋ยแคลเซียม-โบรอน

126. ระบบคัดแยกคุณภาพแผ่นยางพาราโดยการประมวลผลภาพ

127. การคัดแยกต้นกล้ายางพารา โดยวิธีการประมวลผลภาพ

128. การใช้แบบจำลองการผลิตพืชเพื่อการประเมินปริมาตรไม้และมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของยางพารา

129. การวิเคราะห์ระบบโลจิสติกส์ ในการค้ายางพาราผ่านจุดผ่อนปรน บ้านฮวก จังหวัดพะเยา

130. การพัฒนากระบวนการปรับปรุงคุณภาพไม้ยางพารา ด้วยวิธีความร้อนที่เหมาะสมสำหรับประยุกต์ใช้กับ เตาอบที่มีใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมไม้ยางพารา

131. การปรับปรุงสมบัติการทนน้ำมันไบโอดีเซลของยางผสมระหว่างยางพารากับยางฟลูออไร โดยการเติมพอลิไอโซพรีน-กราฟ-กรด มาเลอิก โมโนเมทิล เอสเทอร์

132. ระบบการผลิตยางพาราภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

133. การวิเคราะห์พันธุกรรมระดับโมเลกุลที่เกี่ยวข้องกับอาการเปลือกแห้งในต้นยางพารา [Hevea brasiliensis Muell.Arg]

134. การลดของเสียในโรงงานผลิตเขียงไม้ยางพารา โดยเทคนิคซิกซ์ ซิกมา

135. การรับรู้วิธีการปลูกยางพาราของเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการปลูกยางพารา ในอำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา

136. การศึกษาอิทธิพลของสารเพิ่มความเข้ากันได้ ต่อสมบัติการทนน้ำมันและสมบัติเชิงกลของยางผสมระหว่างยางพารากับยางคลอโรซัลโฟเนตพอลิเอทธิลีน

137. การผลิตวัสดุผสมเนื้ออะลูมิเนียมเสริมแรงด้วย ซิลิกอนคาร์ไบด์พรุนที่สังเคราะห์จากไม้ยางพารา โดยวิธีอินพิลเทรชันด้วยความดัน

138. การศึกษาและพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงรมยางพารา

139. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ความหลากหลายทางพันธุกรรมของเชื้อรา Phytophthora spp. สาเหตุโรคของยางพารา (Hevea brasiliensis Muell. Arg.) ในพื้นที่เพาะปลูกจังหวัดสุราษฎร์ธานี

140. โครงการ การเตรียมกาวติดไม้และกาวทำไม้อัดจากขี้เลื่อยไม้ยางพาราจากกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกับเมทิลเมทาคริเลท

141. การพัฒนาฉนวนหุ้มข้อรัดสายไฟฟ้าแบบพีจีจากยางพารา

142. การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางพารา จังหวัดสกลนคร

143. ต้นแบบการทำผลิตภัณฑ์จากยางพารา ที่ใช้ทางทันตกรรมจัดฟัน

144. ความพึงพอใจและปัญหาของเกษตรกรต่อการปลูกยางพาราในจังหวัดพะเยา

145. ศึกษาศักยภาพและกำหนดแนวทาง ในการพัฒนาการปลูกยางพารา

146. การศึกษาปริมาณเนื้อยางแห้งของยางพาราจังหวัดเลยและจังหวัดหนองบัวลำภู

147. การศึกษาประสิทธิภาพการผลิตยางพารา ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย โดยวิธีเส้นพรมแดนการผลิตเชิงเฟ้นสุ่ม

148. การศึกษาศักยภาพธุรกิจการผลิตยางพาราแผ่น ในจังหวัดลำปาง

149. ศักยภาพการทำสวนยางพาราของเกษตรกรในอำเภอลี้ จังหวัดลำพูน

150. การพัฒนาสูตรสารปรับปรุงดินร่วมกับเบนโทไนท์ที่เหมาะสม ต่อสมดุลธาตุอาหารของต้นกล้ายางพาราเพื่อการทนแล้งในภาคอีสาน

151. การจัดการให้น้ำต้นยางพาราเพื่อการกรีดยางในช่วงหน้าแล้ง

152. การวิเคราะห์อำนาจทางการตลาดของพ่อค้าคนกลางในตลาดยางพารา กรณีศึกษาตลาดยางพารา จังหวัดอุดรธานี และจังหวัดหนองคาย

153. การผลิตฉนวนไฟฟ้าแรงสูงจากวัสดุยางพารา

154. การวิจัยและพัฒนาหุ่นจำลองอวัยวะภายในมนุษย์ด้วยยางพาราและการต่อยอดเชิงพาณิชย์

155. อิทธิพลของถ่านและน้ำส้มควันไม้ต่อสมบัติแผ่นยางพารา

156. ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบทางเคมี กับความงอกของเมล็ดพันธุ์ยางพาราพันธุ์ RRIM 600

157. การปรับปรุงกระบวนการอบไม้ยางพารา ในโรงงานเฟอร์นิเจอร์

158. การศึกษาการปลูกพืชผสมผสานเพื่อสร้างความหลากหลายในสวนยางพาราของเกษตรกร ในชุมชนพืชทรายทอง ต.สวาท อ.เลิงนกทา จังหวัดยโสธร

159. การเสริมสร้างศักยภาพการจัดการสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมยางพาราไทย : กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์ยางวงและเส้นยางยืด

160. โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจลงทุนการผลิตและการค้าสินค้าเกษตร ของผู้ประกอบการ SMEs เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ในกรณีศึกษา กลุ่มการผลิตและการค้าสินค้าเกษตร (ยางพารา) จังหวัดนครพนมและมุกดาหาร

161. ผลกระทบต่อเกษตรกรชาวสวนยางพาราจากการปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ยางในตลาดโลก

162. การสูญเสียดินและธาตุอาหารจากการพังทลายของดินในพื้นที่ปลูกยางพารา อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

163. การศึกษาตัวแปรหลักที่มีผลต่อพื้นผิวสำเร็จและการสึกหรอในการกลึงไม้ยางพาราสำหรับชิ้นส่วนเฟอร์นิเจอร์

164. อิทธิพลของการปลูกพืชตระกูลถั่วแซมสวนยางพารา : การเจริญเติบโตและโครงสร้างรากยางพารา เพื่อการปรับปรุงคุณสมบัติกายภาพและเคมีดิน

165. ผลกระทบจากสวนยางพาราต่อยุงก้นปล่อง ในพื้นที่แพร่เชื้อไข้มาลาเรีย จังหวัดตรัง

166. การจัดการสิ่งแวดล้อมโดยใช้ LCA สำหรับกิจกรรมแปรรูปไม้ยางพารา [ระยะที่ 1 : การตัดโค่น-การแปรรูประยะแรก]

167. การศึกษาบทบาทของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในดิน ในการปรับปรุงดินและเป็นดัชนีชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของดินในระบบนิเวศสวนยางพารา

168. การศึกษาชนิดของมอดทำลายไม้ยางพาราในพื้นที่ภาคตะวันออกและพื้นที่รอบอ่าวไทย

169. การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่ว พืชบำรุงดินและพืชอาหารสัตว์ ในสวนยางพาราสร้างใหม่

170. การศึกษาประสิทธิภาพของการแปรรูปวัตถุดิบและประสิทธิภาพ ของการใช้พลังงานในกระบวนการแปรรูปไม้ยางพารา ของอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ยางพาราในจังหวัดนครศรีธรรมราช

171. การเปรียบเทียบตัวกรองชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในการบำบัดกลิ่นน้ำเสียจากกระบวนการแปรรูปยางพารา

172. การวิเคราะห์พันธุกรรมระดับโมเลกุลที่เกี่ยวข้องกับอาการเปลือกแห้งในต้นยางพารา [Hevea brasiliensis. Muell. Arg

173. การศึกษาสภาวะการตัดเฉือนไม้เทียมจากเศษโฟมพีวีซีกับผงไม้ยางพารา ด้วยกระบวนการกัดสำหรับสร้างแม่พิมพ์มาสเตอร์โมเดล

174. การศึกษาบทบาทของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในดิน ในการปรับปรุงดินและเป็นดัชนีชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของดินในระบบนิเวศสวนยางพารา

175. การผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากเมล็ดยางพาราล้วนและการทดสอบคุณสมบัติ

176. การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อปลูกยางพารา ในพื้นที่จังหวัดพัทลุง

177. การวิจัยในสภาพสวนเพื่อสร้างนวัตกรรมของระบบกรีดยางพาราในจังหวัดสงขลา

178. โครงสร้างธุรกิจแปรรูปยางพาราและอุตสาหกรรมยางพารา ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี

179. การตรึงเอนไซม์ไลเปสจากเมล็ดยางพาราสำหรับการย่อยสลายไขมันในน้ำทิ้ง

180. การวิเคราะห์ปริมาณเนื้อยางแห้งในน้ำยางสดและน้ำยางข้น โดยการวัดที่ต้นยางพาราโดยตรงด้วยวิธีไม่ทำลายโดยใช้เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปคโตรสโคปี

181. ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจโรงงานอุตสาหกรรมยางพาราใน 5 จังหวัดภาคใต้

182. การศึกษาศักยภาพตลาดกลางยางพารา โครงข่ายโลจิสติกส์ และห่วงโซ่อุปทานยางพาราของจังหวัดพิษณุโลกในระดับนานาชาติ

183. การพัฒนาฉนวนบุชชิ่งหม้อแปลงในระบบจำหน่ายจากวัสดุผสมยางพาราและขยะพลาสติก

184. เศรษฐกิจ-สังคม และวัฒนธรรมการปฏิบัติงานในสวนยางพาราที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาวะและคุณภาพชีวิตของเกษตรกร อ.สะเดา จ.สงขลา

185. การพัฒนาเครือข่ายเกษตรกรเจ้าของสวนยางเพื่อการจัดการสวนยางพาราอย่างยั่งยืน : กรณีศึกษาวิธีการกรีดยางและระบบกรีดยางที่เหมาะสมกับท้องถิ่น

186. การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่ว พืชบำรุงดิน และพืชอาหารสัตว์ ในสวนยางพาราสร้างใหม่

187. การศึกษาการจัดการโซ่อุปทานยางพาราของอุตสาหกรรมยางยานพาหนะ

188. การพัฒนาเครื่องกะเทาะเมล็ดยางพารา

189. การศึกษาคุณลักษณะของโปรตีเอสอินฮิบิเตอร์ซึ่งแยกได้จากเซลล์แขวนลอยยางพาราที่ถูกกระตุ้นด้วยคอปเปอร์ซัลเฟต

190. การศึกษาคุณสมบัติทางกลและกายภาพของสารประกอบยางพาราและ ท่อนาโนคาร์บอน

191. ความคุ้มค่าของการใช้เชื้อเพลิงชีวมวลในอุตสาหกรรมไม้ยางพารา กรณีศึกษา บริษัท เอส อี พี เวิลด์ไวด์ จำกัด

192. การพยากรณ์ราคา ข้าวหอมมะลิ ยางพารารมควันชั้น 3 และน้ำตาล โดยใช้แบบจำลองอาร์รีม่า (ARIMA) อาร์ฟีม่า (ARFIMA) และการวิเคราะห์อนุกรมเวลาแบบคลาสสิก

193. อิทธิพลของออลิโกไคโตซานต่อกลไกการป้องกันโรคของต้นยางพารา

194. การผลิตน้ำมันชีวภาพจากเปลือกและกากเมล็ดยางพาราด้วยกระบวนการไพโรไลซีส

195. การประเมินความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากโรครากขาวในยางพารา ในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย

196. เจตคติของเกษตรกรที่มีต่อการเลือกพันธุ์ยางพารา ในตำบลบ้านนา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

197. การพัฒนาเครืข่ายเกษตรกรเจ้าของสวนยาง เพื่อการจัดการสวนยางพาราอย่างยั่งยืน : กรณีศึกษาวิธีการกรีดยางและระบบกรีดยางที่เหมาะสมกับท้องถิ่น

198. การพัฒนาแผ่นรองกระแทกจากยางพารา

199. ผลของสารโคลชิซีนต่อปริมาณน้ำยางที่ขับออกจากแผล และต่อลักษณะทางกายวิภาคของต้นกล้าของยางพารา

200. โครงการพัฒนาการผลิตยางพาราเชิงระบบในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ

Recent Posts