สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

301. ผลของการเปลี่ยนแปลงความเค็มอย่างเฉียบพลันต่อการรอดตาย พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และสรีระของกุ้งขาววัยรุ่น (Litopenaeus vannamei)

302. ความทนทานของกุ้งแชบ๊วย (Fenneropenaeus merguiensis) และกุ้งขาววานาไม (Litopenaeus vannamei) ต่อการทดสอบด้วยเชื้อไวรัส แบคทีเรีย และความเครียดทางสิ่งแวดล้อม

303. เปรียบเทียบการเสริมโพรไบโอติกและกระเทียมในการเลี้ยงกุ้งแชบ๊วย Fenneropenaeus merguiensis (De Man, 1888) ร่วมกับกุ้งกุลาดำ (penaeus monodon Fabricus, 1798) ให้เป็นพ่อแม่พันธุ์ในบ่อดิน

304. การใช้เทคโนโลยี bio-flocs ในการเลี้ยงกุ้งขาวและปลานิลแบบผสมผสาน

305. การพัฒนาระบบควบคุมการใช้พลังงานไฟฟ้าในบ่อเลี้ยงกุ้งขาว

306. การประเมินสภาวะทรัพยากรกุ้งแชบ๊วย (penaeus merguiensis De Man, 1888) บริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก

307. การประยุกต์ใช้สมุนไพรไทยเพื่อการกำจัดแบคทีเรียก่อโรคในคนและสัตว์น้ำในถุงน้ำเชื้อกุ้งแช่บ๊วย (ปีที่2)

308. ผลของระบบการเลี้ยงต่อการปนเปื้อนเชื้อ Vibrio vulnificus และ V. parahaemolyticus ในฟาร์มเลี้ยงกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) จังหวัดพังงา

309. การบริโภคแมกนีเซียมและแคลเซียมในน้ำและผลของสัดส่วนแมกนีเซียมและแคลเซียมต่อการเจริญเติบโต อัตราการรอด และระยะเวลาลอกคราบของกุ้งขาววัยรุ่น (Litopenaeus vannamei) ที่ความเค็ม 3 ระดับ

310. ความรุนแรงของการติดเชื้อ hepatopancreatic parvovirus (HPV) ในลูกกุ้งกุลาดำ (penaeus monodon fabricius, 1798) ขนาดต่างกัน

311. พฤติกรรมด้านสุขลักษณะของบุคลากรในขั้นตอนการจับกุ้งทะเลของแพรับซื้อจังหวัดภูเก็ต

312. การศึกษาระบาดวิทยา ปัจจัยสาเหตุ และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคตายด่วน ในกุ้งทะเลของประเทศไทย

313. การสะสมของปริมาณสาร Geosmin และ MIB ในบ่อเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei) แบบพัฒนา

314. การประยุกต์ใช้สมุนไพรไทยเพื่อการกำจัดแบคทีเรียก่อโรคในคนและสัตว์น้ำในถุงน้ำเชื้อกุ้งแช่บ๊วย

315. สมบัติการต้านไวรัสของโปรตีนต้านจุลชีพจากกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon

316. การพัฒนาเทคโนโลยีการเก็บรักษาถุงน้ำเชื้อกุ้งกุลาดำที่อุณหภูมิต่ำ เพื่อการเพาะเลี้ยงและการอนุรักษ์

317. การหาอัตราการหมุนเวียนน้ำที่เหมาะสมในการเลี้ยงกุ้งขาวด้วยระบบน้ำหมุนเวียน

318. การยืดอายุการเก็บรักษากุ้งขาวต้มโดยการเคลือบด้วยน้ำมันหอมระเหยร่วมกับการบรรจุแบบปรับสภาพบรรยากาศ : ผลของการเคลือบน้ำมันหอมระเหย

319. ความพร้อมในการเข้าสู่ระบบการผลิตตามมาตรฐานสินค้าเกษตรการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล (มกษ.7401-2552) ของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดพังงา

320. กาศึกษาสมบัติและหน้าที่ของยีน 14-3-3 ในกุ้ง L.vannamei

321. การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคขี้ขาวในฟาร์มเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์

322. การศึกษาระบาดวิทยา ปัจจัยสาเหตุและแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคตายด่วนในกุ้งทะเลของประเทศไทย

323. ประสิทธิภาพของสมุนไพรในการยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคในกุ้งขาว

324. ชีววิทยากุ้งกุลาลาย (Penaeus semisulcatus De Haan, 1844) ทางฝั่งทะเลอันดามัน

325. การศึกษาการปลดปล่อยคาร์บอนของการผลิตเนื้อปลากะพงขาวและ เนื้อกุ้งขาวจากการทำฟาร์มประมงโดยการประเมินวัฏจักรชีวิต: กรณีศึกษาจังหวัดตรัง ประเทศไทย

326. การระบุและการศึกษาหน้าที่ของตัวตอบรับต่อฮอร์โมนยับยั้งการพัฒนาของรังไข่จากกุ้งกุลาดำ

327. ประสิทธิภาพการย่อยโปรตีนและพลังงานจากวัตถุดิบ 6 ชนิดในกุ้งขาวแวนนาไม

328. การประยุกต์ใช้สารสกัดจากการตัดแต่งเห็ดต่อการเกิดเมลาโนซิสและคุณภาพของกุ้งขาวแปซิฟิก (Litopenaeus vannamei) ในขั้นตอนก่อนและหลังการจับ

329. ผลผลิตกุ้งแชบ๊วยจากการประมงอวนจมกุ้งสามชั้น และการตลาดของ เครือข่ายตลาดกลางสัตว์น้ำตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา

330. การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) โดยใช้ เครื่องหมายพันธุกรรมไมโครแซทเทลไลท์

331. คุณค่าทางโภชนาการของสาหร่ายผักกาดทะเล (Ulva Rigida) และการประยุกต์ใช้เป็นวัตถุดิบในอาหารกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

332. การผลิตก๊าซชีวภาพจากของเสียจากฟาร์มกุ้ง

333. การระบุโปรตีนเป้าหมายของแอลฟาทูแม็กโคลโกบูลินจากไวรัสตัวแดงดวงขาวและหน้าที่ในระบบภูมิคุ้มกันกุ้ง

334. โครงการ Heparan sulphate บนผิวเซลล์กุ้งกับบทบาทการเป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับโปรตีน VP37 ของไวรัสตัวแดงดวงขาว

335. การระบุและการศึกษาหน้าที่ของอาร์เอ็นเอขนาดเล็กที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันในกุ้งก้ามกราม

336. โครงการภูมิคุ้มกันของกุ้งกับการควบคุมโรค

337. การศึกษาสัณฐานวิทยาและการระบุเชิงโมเลกุลของปรสิตกรีการีนในกุ้งขาวเลี้ยง Litopenaeus vannamei

338. โครงการความท้าทายของภาคอุตสาหกรรมไทย ประสบการณ์การพัฒนาของอุตสาหกรรมกุ้งแปรรูป

339. โครงการ แนวทางในการปล่อยกุ้งก้ามกราม Macrobrachium rosenbergii เพื่อการประมงแบบปล่อยเลี้ยงตามธรรมชาติ

340. ปฏิสัมพันธ์ของโปรตีนจากไวรัสต่อกระบวนการสร้างเมลานินในกุ้ง

ที่มา : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

Recent Posts