สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

จำนวน 340 เรื่อง

1. ผลของระดับกากน้ำตาล จุลินทรีย์บาซิลลัส และวิบาริโอต่อคุณภาพน้ำ และอัตรารอดของลูกกุ้งขาวแวนาไมระยะวัยอ่อน

2. ผลของไลซีนต่ออัตราการเจริญเติบโตของกุ้งกุลาลาย

3. เปรียบเทียบการสร้างไข่ของกุ้งกุลาดำตัดตาที่เลี้ยงในบ่อกลางแจ้งและในร่ม

4. ผลของแหล่งโปรตีนต่างชนิดในอาหารสำเร็จรูปที่มีต่อลูกกุ้งกุลาดำ

5. สภาวะการเลี้ยงกุ้งทะเลแบบปล่อยพันธุ์เสริมที่อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2526

6. การทดลองอนุบาลลูกกุ้งแชบ๊วยขั้น Post larva 4-20 ด้วยอาหารสำเร็จรูป 3 สูตร

7. ความหนาแน่นของไรแดงที่มีผลต่อการรอดของกุ้ง

8. การเร่งกุ้งกุลาดำให้มีไข่แก่โดยวิธีการบีบตา

9. การศึกษาเบื้องต้นในการผสมเทียมกุ้งกุลาดำ จากบ่อพ่อแม่พันธุ์

10. พิษเฉียบพลันของทองแดง (Cu) ต่อกุ้งแชบ๊วย Penaeus merguiensis (de Man) ระยะ mysis และ post larvae และต่อลูกปลากะพงขาว

11. การเพาะกุ้งกุลาดำ

12. ผลของกรดอะมิโน ต่อการเจริญเติบโตของกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Fab.)

13. การอนุบาลลูกกุ้งกุลาดำในระดับความเค็มต่าง ๆ กัน

14. การเปลี่ยนแปลงอัตราการบริโภคออกซิเจนของกุ้งกุลาดำในความเค็มและอุณหภูมิต่างระดับ

15. การศึกษายาต้านจุลชีพและการตกค้างของยาในกุ้งกุลาดำ

16. ผลของฮอร์โมนลอกคราบและฮอร์โมน human chorionic gonadotropin ที่มีต่อการพัฒนาของไข่กุ้งกุลาดำ

17. แนวทางการสกัดและการใช้ประโยชน์ไคโตแซนจากเปลือกและหัวกุ้ง

18. ปัจจัยทางนิเวศวิทยาที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของกุ้งกุลาดำ, Penaeus monodon Fabricius (ปัจจัยทางชีวภาพ)

19. การศึกษาอนุกรมวิธานของกุ้งทะเลและกั้งตั๊กแตน บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก

20. การศึกษาอนุกรมวิธานของกุ้งทะเลบางชนิดที่พบบริเวณชายฝั่งตะวันออก ของประเทศไทย

21. การศึกษาเปรียบเทียบการเลี้ยงสาหร่ายในน้ำทะเลธรรมชาติ กับน้ำทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งทะเล

22. การศึกษาความเป็นไปได้ ในการใช้พืชพรรณพื้นเมืองของไทย ที่มีฮอร์โมนลอกคราบ ผลิตเป็นอาหารผสม สำหรับเร่งการลอกคราบ ของกุ้งกุลาดำ

23. ต้นทุนการใช้ทรัพยากรภายในประเทศเพื่อการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ ในอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

24. จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายสารอินทรีย์ในนากุ้งกุลาดำ

25. ผลของระดับโปรตีนต่ออัตราการเจริญเติบโต และอัตรารอดของกุ้งกุลาดำวัยอ่อนในน้ำเกลือสินเธาว์ ความเค็มระดับต่างๆ กัน

26. การศึกษาสมบัติทางเคมีฟิสิกส์และทางความร้อนของกุ้งและปลาหมึก

27. พิษของปรอทและตะกั่วที่มีต่อกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Fabricius)

28. การตกค้างและผลของยาปฏิชีวนะต่อการเจริญเติบโต และโรคในกุ้งกุลาดำ

29. ผลของการเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพกุ้งกุลาดำแช่เยือกแข็ง

30. ผลของความกระด้างต่อการสูญเสียน้ำหนักกุ้งกุลาดำแช่เยือกแข็ง

31. การศึกษาภูมิคุ้มกันโรคและแนวทางการใช้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อแบคทีเรียและไวรัสในกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon)

32. พิษของทองแดงและสังกะสี ที่มีต่อกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Fabricius)

33. วิธีรวดเร็วในการประมาณจำนวนแบคทีเรียทั้งหมดที่สร้างเอนไซม์คะตะเลสในกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon Fabricius สด

34. ผลผลิตลูกกุ้งกุลาดำที่ใช้วิธีการเตรียมน้ำอนุบาล 3 วิธี

35. การศึกษาการใช้ไข่อาร์ทีเมียปอกเปลือก เป็นอาหารในการอนุบาลลูกกุ้งกุลาดำระยะ Postlarva

36. เปรียบเทียบการอนุบาลลูกกุ้งกุลาดำ P1-P15 ด้วยอาหารสำเร็จรูป และอาร์ทีเมีย

37. พิษของแอมโมเนียที่มีต่อกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Fabricius)

38. ผลของการเตรียมวัตถุดิบและวิธีแช่เยือกแข็งต่อคุณภาพกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon Fabricius แช่เยือกแข็ง

39. การเติมโอโซนลงในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำ 1. ผลของโอโซนต่อการเจริญเติบโตและการรอดตาย

40. การติดตามและตรวจสอบสารปฏิชีวนะตกค้างในกุ้งกุลาดำและตะกอนดินจากฟาร์มเลี้ยงกุ้งในจังหวัดสตูล

41. การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลตอบแทนของการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในจังหวัดสตูล

42. การติดตามและตรวจสอบสารปฏิชีวนะตกค้างจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำแบบพัฒนา จังหวัดสตูล และจังหวัดตรัง

43. การเลี้ยงกุ้งกุลาดำแบบพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

44. การสำรวจยาปฏิชีวนะและการวิเคราะห์การตกค้างของยาออกซีเตตร้าซัยคลินในกุ้งกุลาดำก่อนจับในจังหวัดภูเก็ต โดย HPLC และวิธี Microbiological assay

45. ผลที่มีต่อการเจริญเติบโต และการตกค้างในกล้ามเนื้อของออกโซลินิคแอซิดในกุ้งกุลาดำ

46. ผลของหนอนปล้องที่มีต่อการสร้างไข่และผลผลิตของพ่อแม่พันธุ์กุ้งกุลาดำ

47. การใช้วิตามินซีโดยการละลายน้ำเพื่อป้องกันความเครียดในการอนุบาลลูกกุ้งกุลาดำ

48. การศึกษาผลกระทบของน้ำทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ ต่อคุณภาพน้ำในบริเวณป่าชายเลนอำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

49. ลักษณะแตกต่างของเพศ สัดส่วนเพศและการพัฒนาของเซลล์สืบพันธุ์ของกุ้งกุลาดำจากบ่อเลี้ยงแบบพัฒนา

50. การประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในจังหวัดสงขลา

51. การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากใบมะม่วงต่อเชื้อไวรัสหัวเหลืองและเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ

52. ปริมาณแบคทีเรียรวมและวิบริโอรวมในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำแบบพัฒนา และในคลองธรรมชาติจังหวัดสตูล

53. การตรวจสอบการตกค้างของยาออกโซลินิก แอซิด ในกุ้งกุลาดำที่เลี้ยงในจังหวัดกระบี่

54. การวิเคราะห์น้ำจากฟาร์มกุ้งกุลาดำ ก่อนปล่อยลงสู่สิ่งแวดล้อมในจังหวัดภูเก็ต

55. การศึกษาโครโมโซมของกุ้งกุลาดำและกุ้งแชบ๊วยที่พบในประเทศไทย

56. การศึกษาองค์ประกอบทางนิเวศวิทยาของบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำระบบปิดแบบหนาแน่น

57. ผลของ Lactobacillus ต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อ Vibrio spp. และความต้านทานโรคของกุ้งกุลาดำวัยอ่อน

58. การเจริญเติบโตและอัตรารอดของลูกกุ้งกุลาดำระยะมายซีสที่เลี้ยงด้วยอาหารเสริมชนิดต่างๆ

59. การศึกษาองค์ประกอบทางนิเวศวิทยาของบ่อเลี้ยงกุ้งทะเลระบบเลียนแบบธรรมชาติ

60. การผลิตเลซิทินที่มีกรดไขมันโอเมก้า-3 เพื่อใช้เพิ่มผลผลิตกุ้งกุลาดำ

61. ความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรกุ้งแชบ๊วยจาก 3 แหล่ง ในประเทศไทย

62. เมตาโบไลท์ของอะฟลาท็อกซิน บี 1 ในกุ้ง

63. การศึกษาประสิทธิภาพของฟอร์มาลินในการควบคุมการติดเชื้อไวรัสดวงในกุ้งกุลาดำ

64. การวิเคราะห์ธุรกิจการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในพื้นที่ชายฝั่งทะเล ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

65. การศึกษาคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำในภาคตะวันออกของประเทศไทย

66. ชีววิทยาหนอนปล้อง [Annelida] บางชนิดเพื่อนำมาใช้เลี้ยงกุ้งทะเล

67. การพัฒนาชุดการตรวจหาเชื้อไวรัสหัวเหลืองในกุ้งกุลาดำ

68. การวิเคราะห์ธุรกิจการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ฝั่งอันดามัน

69. การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อกำหนดการจัดการและบริหารพื้นที่เลี้ยงกุ้งกุลาดำ ในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา

70. รูปแบบ พฤติกรรม และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อประเมินสารพิษที่ปนเปื้อน อยู่ภายในพื้นที่ดินเสื่อมโทรม ที่สืบเนื่องมาจากการเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำในจังหวัดฉะเชิงเทรา

71. ระบบการต่อต้านการเกิดโรคของกุ้งกุลาดำ

72. การตรวจสอบยาปฏิชีวนะตกค้างในดินและเนื้อกุ้งกุลาดำจากบ่อเลี้ยงในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา ปี พ.ศ.2536-พ.ศ.2539

73. ปริมาณโลหะหนักในบริเวณแหล่งเลี้ยงกุ้งกุลาดำในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา

74. การทดลองอนุบาลลูกกุ้งกุลาด้วยอัตราความหนาแน่นต่างระดับ

75. ผลของสารเมือกสกัดจากฟองน้ำทะเลบางชนิด ต่อการเจริญเติบโตของกุ้งกุลาดำวัยอ่อน

76. การใช้ประโยชน์ดินเลนจากบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำที่มีต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตของข้าวโพดหวาน (Zea mays L. var. saccharata)

77. การวิเคราะห์ลักษณะและความแปรผันของไมโครแซเทลไลต์ ในจีโนมของกุ้งกุลาดำ และความเป็นไปได้ในการใช้จำแนกพันธุกรรม

78. การศึกษาการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon) ในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกันในคลองสิเกา จ.ตรัง

79. การใช้ไรแดงเป็นอาหารทดแทนอาร์ทีเมียในการอนุบาลกุ้งกุลาดำ

80. เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเลเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : การปรับปรุงกระบวนการผลิตพันธุ์กุ้งที่มีคุณภาพ

81. การตรวจสอบและติดตามยาปฏิชีวนะออกซีเตตราซัยคลินในดินจากบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำจังหวัดพังงา

82. การศึกษาประสิทธิภาพของวิตามินซีในน้ำฝรั่ง ต่อการเจริญเติบโนและอัตราการรอดตายของกุ้งกุลาดำ

83. การใช้ยาและสารเคมีในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในอำเภอสิเกา จังหวัดตรัง ปี 2542

84. การใช้เทคนิคพีซีอาร์ตรวจไวรัสตัวแดงดวงขาว จากกุ้งกุลาดำ และสัตว์น้ำที่อาจเป็นพาหะในพื้นที่ฝั่งอันดามัน

85. การเลี้ยงกุ้งแชบ๊วย, Penaeus merguiensis De Man, ให้เป็นพ่อแม่พันธุ์ในบ่อดิน

86. วิธีการตรวจวิเคราะห์สารอินทรีย์ ในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำอย่างรวดเร็ว ด้วยเครื่องโครมาโทกราฟี่ที่มีประสิทธิภาพสูง

87. การใช้ไข่อาร์ทีเมียฟอกเปลือก อาร์ทีเมียแห้งชนิดแผ่นและตัวอ่อนอาร์ทีเมียในการอนุบาลลูกกุ้งกุลาดำวัยอ่อน

88. การเลี้ยงกุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis, de Man) แบบพัฒนาในระบบปิด

89. ตรวจสอบการตกค้างของยาออกซี่เตตร้าซัยคลินในเนื้อกุ้งกุลาดำที่ให้ยาผสมอาหารที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ โดยวิธีทางจุลชีวะและวิธีลิควิดโครมาโตกราฟฟี่

90. ผลของความหนาแน่นต่อการเจริญเติบโต อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อและอัตรารอดตายของการอนุบาลลูกปลากะพงแดง [Lutjanus argentimaculatus Forskal] ในบ่อซีเมนต์ด้วยอาหารกุ้งกุลาดำ

91. การตกค้างของยาออกโซลินิก แอซิด ในน้ำจากบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำ

92. ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกุ้งกุลาดำและต้นทุนการผลิต ในจังหวัดจันทบุรี

93. ผลของสีน้ำจากแพลงก์ตอนแต่ละชนิดและสีเทียมที่มีต่ออัตราการเจริญเติบโตของกุ้งกุลาดำ

94. สภาวะการประมงกุ้งทะเลที่มีค่าทางเศรษฐกิจของทะเลสาบสงขลา

95. การใช้ปุ๋ย NaNO3 เพื่อปรับปรุงการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ

96. ปริมาณแอมโมเนียออกซิไดซ์ซิ่งแบคทีเรียในดินบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

97. การปรับปรุงพันธุ์กุ้งกุลาดำแบบวงจรและการพัฒนาโมเลกุลเครื่องหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการคัดเลือก

98. การทดลองเลี้ยงกุ้งกุลาดำในระบบปิด

99. การสร้างแอนติบอดีต่อเปปไทด์ 10 หน่วยทางปลายซีของฮอร์โมนยับยั้งพัฒนาการของรังไข่และความสามารถในการจับกับฮอร์โมนธรรมชาติในก้านตาของกุ้งกุลาดำ

100. การเสริมโพรไบโอติก Bacillus สายพันธุ์ S11 ในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในระดับบ่อดิน

Recent Posts