กรมประมง

จำนวน 119 เรื่อง

1. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเข้าสู่มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 7401-2562 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลของเกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดพังงา

2. ความพร้อมของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมในจังหวัดปทุมธานี ในการเข้าสู่มาตรฐาน มกษ. 7401-2557 การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี สำหรับฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล (จี เอ พี. มกษ. 7401-2557)

3. คุณลักษณะของแอสตาแซนทีนที่สกัดจากไฮโดรไลเสตของหัวกุ้งโดยเอนไซม์ไลเปส

4. การศึกษาระบาดวิทยา ปัจจัยสาเหตุ และแนวทางการแก้ปัญหาโรคตายด่วนในกุ้งทะเลในประเทศไทย

5. การศึกษาระบาดวิทยา ปัจจัยสาเหตุ และแนวทางการแก้ปัญหาโรคตายด่วนในกุ้งทะเลในประเทศไทย

6. ผลของสารสกัดผักกระสังต่อระบบภูมิคุ้มกันและความต้านทานโรคในกุ้งขาวแวนนาไม (Penaeus vannamei)

7. การจัดการพลวัตคาร์บอนในฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลเพื่อลดการสูญเสียผลผลิต และลดการผลิตและปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

8. ผลของระบบการเลี้ยงต่อการปนเปื้อนเชื้อ Vibrio vulnificus และ Vibrio parahaemolyticus ในฟาร์มเลี้ยงกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) จังหวัดพังงา

9. ปรียบเทียบวิธีการจำแนกชนิด Vibrio vulnificus และ V. parahaemolyticus ในกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei) และผลิตภัณฑ์แช่เยือกแข็ง ด้วยวิธีชีวเคมีและเทคนิคพีซีอาร์

10. การเปลี่ยนแปลงปริมาณเชื้อ Vibrio vulnificus และ V. parahaemolyticus ในระหว่างการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์กุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) แช่เยือกแข็ง

11. ความดกของไข่และลายพิมพ์ดีเอ็นเอของประชากรกุ้งแชบ๊วยเลี้ยง (Penaeus merguiensis de Man) ในศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งตรัง

12. ความทนทานของกุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis de Man, 1888) สายพันธุ์บ้าน ต่อการทดสอบด้วยเชื้อไวรัส แบคทีเรีย และความเครียดทางสิ่งแวดล้อม

13. การประเมินอัตราการหายใจและความต้องการออกซิเจนในบ่อเลี้ยงกุ้งขาว (Penaeus vannamei Boone, 1931) แบบพัฒนา

14. การศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายกลวง(Solieria robusta ) ในการป้องกันและยับยั้งเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ

15. การทดลองเลี้ยงกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Fabricius, 1798) ร่วมกับกุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis De Man, 1888) และกุ้งขาวแปซิฟิค (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) ในบ่อดิน ด้วยระบบน้ำหมุนเวียน

16. การพัฒนากระบวนการแช่แข็งแบบ Impingement Jet สำหรับกุ้งแช่แข็งที่มีคุณภาพสูง

17. ระดับโปรตีนที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของกุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis de Man, 1888)

18. ผลของเมลามีนในอาหารต่อการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ และการเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพในกุ้งกุลาดำ(Penaeus monodon Fabricius,1798)

19. การเพิ่มมูลค่าเศษเหลือจากการแปรรูปกุ้งขาวแวนาไม

20. ประสิทธิภาพการย่อยโปรตีนจากวัตถุดิบโปรตีนจากพืชในกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon (Fabricus, 1798) และปลากะพงขาว Lates calcarifer (Bloch, 1790)

21. ผลของการใช้ระบบบำบัดน้ำแบบ skimmer ต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณ แบคทีเรียและต่อการอนุบาลกุ้งทะเล

22. ผลดำเนินการปรับเปลี่ยนอาชีพของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทะเลไปเลี้ยงสัตว์น้ำจืดโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดนครศรีธรรมราช

23. ประสิทธิภาพของฟ้าทะลายโจรที่เคลือบด้วยสารยึดเกาะต่างชนิดกันต่อระบบภูมิคุ้มกันและความต้านทานโรคในกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

24. ความพึงพอใจของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการรับจำนำกุ้งขาวแวนนาไม ปี 2552 จังหวัดสงขลา

25. การแพร่กระจายของกลุ่มอาการโรคตายด่วน ( Early Mortality Syndrome ) ในกุ้งขาวแวนนาไม ในจังหวัดฉะเชิงเทรา

26. การวิเคราะห์ฟลูออโรควิโนโลนในกุ้งขาว (Litopenaeus vannamai) โดย Ultra High Performance Liquid Chromatography – Tandem Mass Spectrometry

27. การประเมินโอกาสของการปนเปื้อนเชื้อ Vibrio vulnificus และ Vibrio parahaemolyticus ตลอดห่วงโซ่การผลิตกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) แช่เยือกแข็ง เพื่อการส่งออก

28. การจัดการพลวัตคาร์บอนในฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลเพื่อลดการสูญเสียผลผลิต และลดการผลิตและปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

29. ชีววิทยาและการทำประมงของกุ้งหัวมัน Metapenaeus brevicornis บริเวณแหล่งทำการประมงจังหวัดนครศรีธรรมราช

30. การศึกษาเบื้องต้นการเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์กุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Fabricius, 1798) รุ่น F5 ในบ่อคอนกรีต

31. การใช้แหล่งแคโรทีนอยด์ธรรมชาติเพื่อปรับปรุงคุณภาพของสีเปลือกและเนื้อในกุ้งขาว Penaues vannamei (Boone 1931)

32. เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Fabricius, 1798) ที่ได้จากพ่อแม่พันธุ์ธรรมชาติและพ่อแม่พันธุ์รุ่นที่ 4

33. ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของกุ้งโอคัก Metepenaeus affinis , Metapenaeus ensis บริเวณอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

34. เปรียบเทียบการเลี้ยงกุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis de Man,1888) โดยใช้แม่กุ้งไข่แก่จาก 3 แหล่ง

35. การประมงอวนลอยกุ้งสามชั้นบริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช

36. ประสิทธิภาพของน้ำมันกระเทียมในการเพิ่มกรทำงานของระบบภูมิคุ้มกันและความต้านทานโรคในกุ้งขาว

37. ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล

38. ผลผลิตและการเจริญเติบโตของกุ้งกุลาดำที่เลี้ยงในระบบปิดหมุนเวียนด้วยชีวภาพร่วมกับการใช้จุลินทรีย์

39. การวิจัยรูปแบบโครงการฟาร์มเลี้ยงกุ้งแชบ๊วยแบบพัฒนาโดยใช้ระบบรีไซเคิลผสมผสานกับระบบมีนเกษตร

40. การวิเคราะห์ความเป็นพ่อแม่ลูกของกุ้งกุลาดำโดยใช้เครื่องหมายทางพันธุกรรมไมโครแซททัลไลซ์

41. เปรียบเทียบการเจริญเติบโตและอัตรารอดตายของกุ้งแชบ๊วยพันธุ์ปรับปรุงและพันธุ์จากธรรมชาติ ที่เลี้ยงด้วยความหนาแน่นต่างกัน

42. พฤติกรรมด้านสุขลักษณะของบุคลากรในขั้นตอนการจับกุ้งทะเลของแพรับซื้อจังหวัดภูเก็ต

43. ความไวต่อยาต้านจุลชีพและสภาวะการดื้อยาของเชื้อ Vibrio parahaemolyticus จากกุ้งทะเลที่เป็นโรคและแหล่งน้ำธรรมชาติในพื้นที่เลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดสงขลา

44. การตรวจเฝ้าระวังเชื้อก่อโรคไวรัส 5 ชนิดในกุ้งขาวแวนนาไม penaeus vannamei (Boone,1931) ในพื้นที่จังหวัดตราด

45. การศึกษาโครงสร้าง complementary DNA และการแสดงออกของยีน Insulin like growth factor-I ในกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei)

46. ความพึงพอใจของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทะเลที่เข้าร่วมโครงการรักษาเสถียรภาพราคากุ้งขาวแวนนาไมโดยระบบตลาดเครือข่ายกลุ่ม ปี 2555 จังหวัดสตูล

47. การศึกษาชีววิทยาและการเพาะพันธุ์กุ้งดอกไม้ทะเล (Periclimenes brevicarpalis)

48. ผลของสารสกัดขมิ้นชันในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันและเพิ่มความต้านทานเชื้อแบคทีเรียในกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

49. อัตราการหายใจ ผลผลิตขั้นต้น คุณภาพน้ำและดินในบ่อเลี้ยงกุ้งขาว (Penaeus vannamei Boone, 1931) แบบพัฒนา

50. การปนเปื้อนของ Vibrio vulnificus และ Vibrio parahaemolyticus ในกระบวนการผลิตกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) แช่เยือกแข็ง

51. การศึกษาการดูดซับปริมาณคาร์บอนในสาหร่ายผักกาดทะเล (Ulva rigida C. Agardh, 1823) จากน้ำทิ้งนากุ้งทะเล

52. ผลการเสริมโปรตีนไฮโดรไลเสตจากเศษทิ้งกุ้งในอาหารสำเร็จรูปต่อการเจริญเติบโตของปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790)

53. การปนเปื้อนของโคลิฟอร์มในแหล่งเลี้ยงกุ้งขาว(Litopenaeus vannamei Boone, 1931) จังหวัดพังงา

54. ชีววิทยากุ้งกุลาลาย (Penaeus semisulcatus De Haan, 1844) ทางฝั่งทะเลอันดามัน

55. ผลผลิตกุ้งแชบ๊วยจากการประมงอวนจมกุ้งสามชั้น และการตลาดของเครือข่ายตลาดกลางสัตว์น้ำตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา

56. ผลของแอมโมเนียต่อระบบภูมิคุ้มกันการยอมรับเชื้อเแบคทีเรียเรืองแสง และไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Frabricius, 1798)

57. การใช้โปรตีนไฮโดรไลเสตจากเศษทิ้งกุ้งเป็นแหล่งโปรตีนเพื่อทดแทนปลาป่นในอาหารสำเร็จรูปของกุ้งขาว Litopenaeus vannamei (Boone, 1931)

58. ผลของระดับกากน้ำตาล จุลินทรีย์บาซิลัส และวิบริโอ ต่อคุณภาพน้ำ และอัตรารอดของลูกกุ้งขาวแวนาไมระยะวัยอ่อน (Penaeus vannamei Boone, 1931)

59. การอนุบาลลูกกุ้งแชบ๊วยระยะไมซิส กุ้งอายุ 42 วัน ในบ่อดิน

60. ประสิทธิภาพของสารสกัดเปลือกมังคุด (Gracinia mangostana, Linn) ในการกำจัดจุลชีพที่ก่อให้เกิดโรคในกุ้งทะเล

61. ระดับโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของกุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis de man, 1888) ในระบบการเลี้ยงแบบน้ำหมุนเวียนในโรงเรือนและระบบกระชังในบ่อดิน

62. การผลิตกุ้งแห้งจากกุ้งขาวแวนนาไมและคุณภาพระหว่างการเก็บรักษา

63. การพัฒนาเทคโนโลยีหลังการจับกุ้งขาว

64. สรุปชุดโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเลี้้ยงกุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis) เพื่อการส่งออก ปีงบประมาณ 2545 – 2547

65. การพัฒนาเทคโนโลยีหลังการจับกุ้งกุลาดำ

66. การประมงกุ้งทะเลจากเครื่องมืออวนลากคานถ่างและอวนลากแผ่นตะเฆ่บริเวณอ่าวไทยตอนในและบางส่วนของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

67. ต้นทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี หลังผลกระทบจากโรค EMS

68. ผลของอาหารที่ใช้โปรตีนจากพืชเป็นแหล่งโปรตีนต่อการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และคุณค่าทางโภชนาการของกุ้งขาว Litopenaeus vannamei (Boone, 1931) กุ้งกุลาดํา Penaeus monodon (Fabricius, 1798)และปลากะพงขาว Lates calcarifer (Bloch, 1790)

69. การแทนที่ปลาป่นด้วยวัตถุดิบโปรตีนจากพืชที่มีศักยภาพในอาหารสำหรับกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon (Fabricius, 1798)

70. ผลของการเสริม Phytase ต่อการดูดซึมและสะสมแร่ธาตุในกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) กุ้งกุลาดํา (Penaeus monodon Fabricius, 1798) และปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790)

71. ผลของการใช้โปรตีนไฮโดรไลเสตจากเศษทิ้งกุ้งเพื่อเป็นสารดึงดูดการกินสำหรับการแทนที่ปลาป่นด้วยวัตถุดิบจากพืชในอาหารกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon (Fabricius, 1798)

72. การพัฒนาระบบการจัดการออกซิเจนสำหรับการทำฟาร์มกุ้งทะเลโดยใช้เครื่องเติมอากาศแบบปิด

73. ระดับวัตถุดิบจากพืชท้องถิ่นที่มีศักยภาพในการใช้เป็นแหล่งโปรตีนหลักในอาหารสำหรับกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) และปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790)

74. ผลของยีสต์สกัดต่อการเจริญเติบโตและภูมิคุ้มกันของกุ้งขาวแวนนาไม

75. ผลของอาหารสำเร็จรูปผสมผงฟ้าทะลายโจร (Andrographis paniculata Nees) ต่อการแสดงออกของยีนในระบบภูมิคุ้มกันและอัตรารอดหลังได้รับเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวของกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

76. ผลของระบบการเลี้ยงต่อการปนเปื้อนเชื้อ Vibrio vulnificus และ Vibrio parahaemolyticus ในฟาร์มเลี้ยงกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) จังหวัดนครศรีธรรมราช

77. ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำทิ้งกับปัจจัยหลักในการจัดการฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลในจังหวัดสตูล

78. คุณสมบัติการต้านความหืนของโปรตีนสกัดจากหัวกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) ในข้าวเกรียบกุ้งทอด

79. ผลของความกระด้างของน้ำต่ออัตราการฟักของไข่และอัตราการรอดตายของลูกกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

80. ผลของการเสริมกรดอะแรชิโดนิกในอาหารต่อพัฒนาการรังไข่และอัตราการฟักของไข่ในแม่กุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis de Man, 1888)

81. การทดลองเลี้ยงกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Fabricius, 1978) ตามมาตรฐานการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลระบบอินทรีย์

82. อิทธิพลร่วมของอุณหภูมิและความเค็มต่อการตอบสนองทางสรีรวิทยาและยอมรับเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Fabricius, 1798)

83. เปรียบเทียบการเสริมโพรไบโอติกและกระเทียมในการเลี้ยงกุ้งแชบ๊วย Fenneropenaeus merguiensis (De Man, 1888) ร่วมกับกุ้งกุลาดำ (Peneaus monodon Fabricius, 1798)ให้เป็นพ่อแม่พันธุ์ในบ่อดิน

84. ผลของสารสกัดข่าต่อการเจริญเติบโต และการรักษาโรคแบคทีเรียในกุ้งขาวแวนนาไม (Penaeus vannamei)

85. ประสิทธิภาพการย่อยอาหารของกุ้งกุลาดำที่ผลิตจากกรรมวิธีแบบอัดเม็ดจมและแบบอัดเม็ดลอย

86. การเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม Litopenaeus vannamei (Boone, 1931) ในกระชังด้วยอาหารสำเร็จรูปชนิดจมนํ้าและชนิดเม็ดลอยนํ้า

87. ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบมะระขี้นก (Momordica charantia) ต่อปริมาณเม็ดเลือดรวม ความสามารถในการจับกินสิ่งแปลกปลอมและการยับยั้งเชื้อวิบริโอของกุ้งกุลาดำ

88. ศึกษาการเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์กุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis De Man, 1888) ในบ่อซีเมนต์ในระดับความหนาแน่นและอัตราส่วนเพศแตกต่างกัน

89. ศึกษาการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) เพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์สำหรับการปรับปรุงพันธุ์

90. การศึกษาสภาวะและความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์ Crystal Violet และ Leucocrystal Violet ในกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) และผลิตภัณฑ์

91. ผลของการเสริมกลีบดอกดาวเรืองในอาหารต่อความเข้มสีในกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon

92. การทดสอบผลความหนาแน่น 3 ระดับ ต่อการเจริญเติบโตและอัตรารอดตายของกุ้งแชบ๊วยพันธุ์ปรับปรุงและพันธุ์จากธรรมชาติ ในบ่อซีเมนต์

93. ผลของการเลี้ยงขุนพ่อพันธุ์กุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931)ด้วยอาหารต่างกันต่อความสมบูรณ์ของเซลล์สเปิร์ม

94. การใช้น้ำนึ่งปลาทูน่าเข้มข้นเป็นสารดึงดูดการกินอาหารที่ใช้พืชเป็นแหล่งโปรตีนหลักสำหรับกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon (Fabricius, 1798)

95. ผลของการใช้อาร์ทีเมียเสริมจุลินทรีย์ ป.ม 1 Bacillus spp. และ B. licheniformis ในการอนุบาลลูกกุ้งขาวสายพันธุ์แวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boon, 1931) ต่อความต้านทานเชื้อ Vibrio parahaemolyticus สายพันธุ์ก่อโรค Acute Hepatopancreatic

96. การเสริมกรดอะมิโนจำเป็นบางชนิดในสูตรอาหารปลากะพงขาว กุ้งขาวและกุ้งกุลาดำที่มีการใช้โปรตีนพืชในอัตราสูง

97. การพัฒนาระบบการจัดการออกซิเจนสำหรับการทำฟาร์มกุ้งทะเลโดยใช้เครื่องเติมอากาศแบบปิด

98. ความไวต่อยาต้านจุลชีพและสภาวะการดื้อยาของเชื้อวิบริโอจากกุ้งทะเลที่ เป็นโรค และแหล่งน้ำธรรมชาติในพื้นที่เลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดสงขลา

99. การเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบทางเคมี กรดไขมัน กรดอะมิโน วิตามินอีของแม่กุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis de Man, 1888) ที่มีระยะพัฒนาการของรังไข่ต่างๆ กัน และการสร้างอาหารสูตรต้นแบบสำหรับแม่พันธุ์กุ้งแชบ๊วย

100. การใช้ตะกอนน้ำนึ่งปลาทูน่าเป็นสารดึงดูดการกินอาหารที่ใช้พืชเป็นแหล่งโปรตีนหลัก สำหรับเลี้ยงปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) และกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

Recent Posts