มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

101. ผลของการใช้น้ำจากคูระบายนั้าทิ้งเพื่อการเลี้ยงดูกุ้งกุลาดำแบบพัฒนา

102. รายงานการวิจัยการพัฒนาเครือข่ายฐานข้อมูลงานวิจัยกุ้งแห่งชาติ

103. รายงานการวิจัยการสร้างเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาระบบการจัดการองค์ความรู้ในอุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งของประเทศไทย

104. เปรียบเทียบการอนุบาลลูกกุ้งกุลาดำโดยใช้อาร์ทีเมียกับไรแดงในน้ำเกลือ 30 เปอร์เซ็นต์

105. เปรียบเทียบการเจริญเติบโตระหว่างกุ้งแชบ๊วย 3 แหล่ง

106. การศึกษาการบำบัดน้ำทิ้งจากฟาร์มเลี้ยงกุ้งกุลาดำด้วยพรรณไม้ป่าชายเลน ในพื้นที่โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน

107. รายงานการวิจัยมาตรฐานการใช้จุลินทรีย์โปรไบโอติกในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ

108. รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องการใช้ Bacillus spp. เพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในกุ้งกุลาดำ

109. ปัจจัยเสี่ยงของการปนเปื้อนด้านจุลินทรีย์ในกรรมวิธีการแปรรูปเบื้องต้นหมึกและกุ้ง

110. การศึกษาการปนเปื้อนของ Listeria monocytogenes ในกระบวนการผลิตกุ้งสุกแช่เยือกแข็ง

111. การศึกษาปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญต่อการผลิตกุ้งกุลาดำขนาดใหญ่ เพื่อการส่งออก

112. การเพาะพันธุ์กุ้งกุลาดำเป็นลูกกุ้งรุ่นที่ 2 (F1) จากพ่อแม่พันธุ์รุ่นที่ 1 (P0)

113. ชนิดและการแพร่กระจายของกุ้งเคยสกุล Acetes บริเวณแหล่งหญ้าทะเลและคลองป่าชายเลน ฝั่งทะเลอันดามัน

114. ผลของการให้ Skeletonema sp. เสริมการใช้อาร์ทีเมียเป็นอาหารในการอนุบาลลูกกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon(Fabricius) ระ

115. รายงานการวิจัยการศึกษาโรคกุ้งขาวแวนนาไมพ่อแม่พันธุ์ที่มีสาเหตุจากเชื้อราและบักเตรี

116. รายงานการวิจัยเรื่องผลของสารจากธรรมชาติบางชนิดที่มีต่อระบบภูมิคุ้มกันและระดับเอนไซม์ทำลายพิษในกุ้งขาวแวนนาไม

117. วิเคราะห์ความแปรปรวนทางพันธุกรรมโดยใช้โมเลกุลเครื่องหมายในกระบวนการคัดเลือกปรับปรุงพันธุ์กุ้งกุลาดำ

118. การศึกษาอนุกรมวิธานของกุ้งมังกรน้ำลึกบริเวณฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย

119. การตรวจหาเชื้อไวรัส MBV (Monodon Baculovirus) ในลูกกุ้งกุลาดำวัยอ่อน

120. ออกโซลินิค แอซิค ที่ตกค้างในกุ้งกุลาดำที่เลี้ยงในจังหวัดปัตตานี

121. การสัมมนาเผยแพร่ผลงานวิจัยเรื่อง การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาอุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งของประเทศไทย

122. รายงานการวิจัย การวิจัยเพื่อพัฒนาการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมอย่างยั่งยืน

123. การเพาะพันธุ์กุ้งกุลาดำจากพ่อแม่พันธุ์ที่เลี้ยงในบ่อดิน

124. การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์กุ้งกุลาดำในบ่อดิน

125. การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี จุลชีวะ ของแหล่งน้ำ และวิธีการเตรียมน้ำใช้ในโรงเพาะฟักกุ้งทะเล

126. การต้านทานความร้อนของ Listeria monocytogenes ในเนื้อกุ้งกุลาดำ

127. ความเสี่ยงต่อ Listeria monocytogenes ในกระบวนการทำให้สุกของผลิตภัณฑ์กุ้งสุกแช่เยือกแข็ง

128. การประมาณค่าอัตราพันธุกรรมประจักษ์ของการเติบโตกุ้งกุลาดำที่เลี้ยง ในบ่อดิน

129. การวิเคราะห์ความเป็นพ่อแม่ลูกของกุ้งกุลาดำโดยใช้เครื่องหมายพันธุกรรม ไมโครแซททัลไลท์

130. การวิเคราะห์สภาพปัญหาความเสี่ยงของยาต้านจุลชีพในกระบวนการผลิตกุ้งกุลาดำ

131. การวิเคราะห์สถาพปัญหาความเสี่ยงของ Vibrio cholerae ในกระบวนการผลิตกุ้งกุลาดำ

132. การศึกษาโรคทอราและการจำแนกเชื้อไวรัสทอราซินโดรมของกุ้งกุลาดำในประเทศไทย

133. การใช้ประโยชน์สารอาหารจากตะกอนเลนพื้นบ่อเพื่อเพิ่มปริมาณอาหาร ธรรมชาติในบ่อเลี้ยงกุ้งทะเล

134. คุณภาพน้ำและการเปลี่ยนแปลงปริมาณแบคทีเรียในระบบการจัดการเลี้ยงกุ้งกุลาดำวิธีการต่าง ๆ กัน

135. ประสิทธิภาพของเอ็นโรฟลอกซาซินที่มีต่อโรคติดเชื้อแบคทีเรียในกุ้งกุลาดำ

136. ผลของ Canthaxanthin ต่อระบบภูมิคุ้มกันและความต้านทานโรคในกุ้งกุลาดำ

137. ผลของการใช้สไปรูไลนา (Spirulina platensis) ในการอนุบาลลูกกุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis) ระยะโพสท์ลาร์วา (พี1

138. รายงานการวิจัย การปรับปรุงพันธุ์กุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Fabricius) ให้ได้สายพันธุ์ที่เหมาะสมเพื่อการเลี้ยงในสภาพความเ

139. รายงานการวิจัยการรวบรวมวิเคราะห์และสังเคราะห์งานวิจัยกุ้งทะเลของ ประเทศไทย

140. รายงานการวิจัยการพัฒนาวิธีการตรวจวัดสารตกค้างในกุ้งและปัจจัยการผลิต

141. รายงานการวิจัยการวิจัยอาหารกุ้งกุลาดำเพื่อนำไปสู่การผลิตกุ้งปลอดภัย ปลอดสารพิษ และเอื้อต่อสิ่งแวดล้อม

142. รายงานการวิจัยการใช้สารเสริมสุขภาพในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ

143. รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบการเลี้ยงกุ้งแช่บ๊วยแบบหนาแน่นโดยใช้ โอโซนปรับปรุงคุณภาพน้ำ

144. รายงานการวิจัยแผนงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาการผลิตและการส่งออกกุ้งกุลาดำ

145. รายงานการวิจัยโรคและการใช้ยาในกุ้ง

146. วิจัยและพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจัดเขตการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล : จังหวัดภูเก็ต

147. โครงการศึกษาการจัดเขตและการจัดทำฐานข้อมูลการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลบริเวณ 4 จังหวัดชายฝั่งทะเล

148. ปริมาณวิบริโอ (Vibrio spp.) ในแหล่งน้ำที่มีการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในจังหวัดสตูล

149. การศึกษาคุณภาพน้ำทิ้งจากโรงเพาะฟักกุ้งทะเลในจังหวัดภูเก็ต

150. รายงานการวิจัย การศึกษาการใช้พืชสมุนไพร Family Cucurbitaceae ในการป้องกันและกำจัดเชื้อไวรัสในการเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำ

151. รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาการเลี้ยงกุ้งกุลาดำระบบน้ำจืด

152. เปรียบเทียบการอนุบาลลูกกุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis de Man) ระยะโพสลาร์วา 2-15 ด้วยอาร์ทีเมีย (Artemia salina

153. เปรียบเทียบการเลี้ยงกุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis De man) ลูกพันธุ์จากธรรมชาติกับลูกพันธุ์ F3

154. การศึกษาอาหาร 4 ชนิดที่มีผลต่อการวางไข่ของแม่กุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis De man)

155. ความเข้มข้นของเบนซัลโคเนียมคลอไรด์ (บีเคซี) ในการควบคุมแพลงก์ตอนและความเป็นพิษเฉียบพลันต่อลูกกุ้งกุลาดำ

156. การตรวจติดตามคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำแบบพัฒนาในจังหวัดสุราษฎร์ธานี

157. ผลของการใช้โอโซนต่อสารประกอบไนโตรเจนละลายและแพลงก์ตอนในน้ำจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ

158. ผลของความหนาแน่นต่อการเจริญเติบโตของการเลี้ยงกุ้งแชบ๊วยเป็นเวลา 2 และ 3 เดือนในบ่อดิน

159. สภาวะการประมงกุ้งทะเลที่มีค่าทางเศรษฐกิจของทะเลสาบสงขลา

160. อัตราความหนาแน่นที่เหมาะสมของการเลี้ยงกุ้งแชบ๊วยในบ่อดิน

161. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องการปรับปรุงพันธุ์กุ้งกุลาดำแบบวงจร และการพัฒนาโมเลกุลเครื่องหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการคัดเล

162. การพัฒนาการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลในประเทศไทยช่วงปี 2528-2538

163. รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำในภาคตะวันออกของประเทศไทย

164. การศึกษาประสิทธิภาพของฟอร์มาลินในการควบคุมการติดเชื้อไวรัสดวงขาวในกุ้งกุลาดำ

165. การศึกษาองค์ประกอบทางนิเวศวิทยาของบ่อเลี้ยงกุ้งทะเลระบบเลียนแบบธรรมชาติ

166. การศึกษาเปรียบเทียบการใช้รูปถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายทางดาวเทียมในการศึกษาพื้นที่การเลี้ยงกุ้งกุลาดำใน จ.นครปฐม

167. การใช้ไข่อาร์ทีเมียฟอกเปลือก อาร์ทีเมียแห้งชนิดแผ่นและตัวอ่อนอาร์ทีเมียในการอนุบาลลูกกุ้งกุลาดำวัยอ่อน

168. ผลของ Lactobacillus ต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อ Vibrio spp. และความต้านทานโรคของกุ้งกุลาดำวัยอ่อน

169. รายงานผลการวิจัยเรื่อง การวิจัยเพื่อพัฒนาการเลี้ยงกุ้งกุลาดำแบบยั่งยืน ในพื้นที่น้ำจืด

170. การตรวจและติดตามคุณภาพน้ำและดินในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำแบบพัฒนาในจังหวัดระนอง

171. การรักษาสีธรรมชาติและคุณภาพของกุ้งแห้ง

172. รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การใช้วิตามินซีโดยการละลายน้ำเพื่อป้องกันความเครียดในการ อนุบาลลูกกุ้งกุลาดำ

173. สภาวะแวดล้อมชายฝั่งบริเวณบ้านปากระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ก่อนการสร้างระบบระบายน้ำทิ้งจากการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล

174. เครื่องหว่านอาหารเม็ดสำเร็จรูป สำหรับบ่อเพาะเลี้ยง ปลา-กุ้ง

175. การใช้รังสีภาชนะบรรจุก๊าชไนโตรเจน เพื่อรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์กุ้ง

176. การปนเปื้อน Salmonella ในกุ้งไทย

177. การทดลองอนุบาลลูกกุ้งกุลาดำระยะ Protozoea 1 ถึง Mysis 3

178. การประเมินอัตราความหนาแน่นที่เหมาะสมของกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon Fabricius, ในบ่อดินจากดุลออกซิเจน

179. การเปลี่ยนแปลงอัตราการบริโภคออกซิเจนของกุ้งกุลาดำ, Penaeus monodon fabricius, ในความเค็มและอุณหภูมิต่างระดับ

180. รายงานการวิจัยและพัฒนาโครงการเครื่องคัดขนาดกุ้ง

181. โรคกุ้งกุลาดำที่เลี้ยงในบ่อคอนกรีตกลม

182. การทดลองเลี้ยงกุ้งกุลาดำที่ระดับความหนาแน่นต่างกัน

183. การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงกุ้งกุลาดำแบบพัฒนา

184. เศรษฐกิจการเพาะเลี้ยงและการตลาดกุ้งทะเล ปี 2531

185. การทดลองเปรียบเทียบอัตราการรอดและการเจริญเติบโตของกุ้งกุลาดำที่เลี้ยงด้วยไรสีน้ำตาลต่างสายพันธุ์

186. การบริโภคออกซิเจนของลูกค้ากุ้งกุลาดำในระยะการเจริญเติบโตต่าง ๆ

187. การศึกษาเบื้องต้นในการผสมเทียมกุ้งกุลาดำ จากบ่อพ่อแม่พันธุ์

188. ทดลองเร่งกุ้งกุลาดำให้มีไข่แก่ในบ่อซีเมนต์โดยใช้กุ้งจากแหล่งน้ำบริเวณชายฝั่งทะเลสาบสงขลา

189. รายงานผลการวิจัย การศึกษาการเจริญเติบโตของลูกกุ้งก้ามกรามวัยอ่อน (Macrobrachium rosenbergii, de Man) ที่เลี้ยงด้วยอา

190. รายงานการวิจัยเรื่องเศรษฐกิจการผลิตและการตลาดกุ้งก้ามกราม ในเขตอำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม พ.ศ.2526

191. ผลของไลซีนต่ออัตราการเจริญเติบโตของกุ้งกุลาลาย

192. รายงานผลการศึกษาวิจัยเรื่องธุรกิจการเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำของประเทศไทย

193. เกลือแร่บางอย่างจาก กุ้ง ปลา ปลาหมึก ปู และหอย

194. รายงานการวิจัยเรื่อง การตกค้างและผลของยาปฏิชีวนะต่อการเจริญเติบโตและโรคในกุ้งกุลาดำ

195. รายงานการวิจัยการรวบรวมเอกสารการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ : เน้นการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลระบบอินทรีย์

196. รายงานการวิจัยโครงสร้างประชากรสัตว์ทะเลหน้าดินบริเวณปากแม่น้ำจันทบุรี : ผลกระทบจากการเลี้ยงกุ้ง

197. รายงานวิจัยโครงการศึกษาสินค้ายุทธศาสตร์ : กุ้งกุลาดำ

198. รายงานการวิจัยเรื่องการทำให้บริสุทธิ์และศึกษาคุณสมบัติของนิวโรเปปไทด์ฮอร์โมนจากก้านตาของกุ้งกุลาดำ

199. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การตรวจหานิวโรเปปไทด์ในก้านตาของกุ้งกุลาดำโดยปฏิกิริยา ทางภูมิคุ้มกัน

ที่มา : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Recent Posts