สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

จำนวน 106 เรื่อง

1. ลักษณะสมบัติของเลคตินที่คล้ายไฟโคลินในกุ้งกุลาดำ

2. การศึกษาบทบาทหน้าที่ของหมู่น้ำตาลในการจับระหว่างโนด้าไวรัสและเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อในกุ้งก้ามกราม เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาสารยับยั้งการติดเชื้อของไวรัสที่ทำมาจากคาร์โบไฮเดรต

3. การปรับเปลี่ยนเปลือกหุ้มไวรัสกุ้งโดยกรรมวิธีทางเคมีและวิศวะพันธุกรรมเพื่อพัฒนาระบบการขนส่งเข้าสู่เซลล์แบบจำเพาะและตัวติดตามการถ่ายภาพที่ทันสมัย

4. การทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในกุ้งและในคนของสารสกัดเอทานอลจากสาหร่ายผมนาง (Gracilaria fisheri): กลไกการต้านแบคทีเรียและบ่งชี้สารออกฤทธิ์

5. เทคโนโลยี RNA interference เพื่อประสิทธิผลของการเพาะเลี้ยงกุ้งในประเทศไทย

6. Heparan sulphate บนผิวเซลล์กุ้งกับบทบาทการเป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับโปรตีน VP37 ของไวรัสตัวแดงดวงขาว

7. หน้าที่ของ miRNAs ในระบบภูมิคุ้มกันของกุ้งต่อเชื้อก่อโรค

8. การระบุโปรตีนเป้าหมายของแอลฟาทูแม็กโคลโกบูลินจากไวรัสตัวแดงดวงขาวและหน้าที่ในระบบภูมิคุ้มกันกุ้ง

9. การศึกษาการเข้าสู่เซลล์ของอาร์เอ็นเอสายคู่และการแพร่กระจายแบบ systemic ของ RNAi ในกุ้งขาว

10. ภูมิคุ้มกันของกุ้งกับการควบคุมโรค

11. กลไกการควบคุมการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องในกระบวนการสร้างไวเทลโลจีนินในกุ้งกุลาดำ

12. ปฏิสัมพันธ์ของโปรตีนจากไวรัสต่อกระบวนการสร้างเมลานินในกุ้ง

13. หน้าที่ของ kruppel like factor ชนิดใหม่จากกุ้งแวนนาไมต่อการติดเชื้อไวรัสทอร่า

14. การตอบสนองต่อการต้านเชื้อไวรัสของตัวยับยั้งซีรีนโปรทีเนสแบบคาซาลชนิด 2 โดเมน จากกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon

15. การศึกษาความสามารถของไลโพโพลีแซคคาไรด์จากแบคทีเรียเพื่อเพิ่มอัตรารอดของกุ้งกุลาดำและการนำเทคนิคอะเรย์มาประยุกต์ใช้เพื่อวัดภูมิคุ้มกันกุ้ง

16. ชีววิทยาของกุ้งกุลาดำที่มีโครโมโซมสามชุด

17. การศึกษาหน้าที่ของ PmPLP1 ที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อไวรัสหัวเหลืองในกุ้งกุลาดำ

18. การศึกษาสัณฐานวิทยาและการระบุเชิงโมเลกุลของปรสิตกรีการีนในกุ้งขาวเลี้ยง Litopenaeus vannamei

19. ผลกระทบของแม่เพรียงทรายที่ถูกเพิ่มคุณค่าโดยกรดไขมันชนิดต่างๆ เพื่อใช้เป็นอาหารกุ้งต่อความสมบูรณ์พันธุ์ของกุ้งกุลาดำพ่อพันธุ์

20. การศึกษาหน้าที่ของ GW182 ในกุ้งกุลาดำที่ติดเชื้อไวรัสโรคดวงขาว

21. การสืบค้นตัวบ่งชี้ชีวภาพเพื่อประยุกต์ใช้สำหรับการประเมินคุณภาพเซลล์อสุจิของพ่อพันธุ์กุ้งกุลาดำ

22. การศึกษากลไกการนำเข้าและการเคลื่อนที่ของไวรัสหัวเหลืองในกุ้ง

23. การระบุและการศึกษาหน้าที่ของตัวตอบรับต่อฮอร์โมนยับยั้งการพัฒนาของรังไข่จากกุ้งกุลาดำ

24. การวิเคราะห์ฐานข้อมูล EST ของกุ้งด้วยวิธีทางชีวสารสนเทศเพื่อหาการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกุ้งและเชื้อก่อโรคและการประยุกต์ใช้เพื่อการควบคุมโรคกุ้ง

25. เทคโนโลยี RNA interference ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสของกุ้ง

26. การศึกษาคุณสมบัติของสารต้านไวรัสที่ผลิตจากกุ้งที่ติดเชื้อหัวเหลืองอย่างเรื้อรัง

27. กลไกการต้านการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำของสารซัลเฟตกาแลคแตนที่สกัดจากสาหร่ายผมนาง และการพัฒนาซัลเฟตกาแลคแตนผสมเป็นอาหารเม็ด

28. โครงสร้างและหน้าที่ของโปรตีนชนิดใหม่ที่ตอบสนองต่อการติดเชื้อไวรัสจากกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon, PmVRP15

29. มาตรฐานความปลอดภัยอาหารตลอดห่วงโซ่การผลิตเพื่อสนับสนุน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ความปลอดภัยอาหาร: กุ้งขาว

30. ลักษณะสมบัติของครัสทินจากกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon

31. บทบาทของระบบโพรฟีนอลออกซิเดสในการป้องกันโรคในกุ้ง

32. กลไกระดับโมเลกุลของการตอบสนองของภูมิคุ้มกันในกุ้ง

33. การศึกษาระบบภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสในกุ้งกุลาดำ : ลักษณะสมบัติของโปรตีนที่ตอบสนองต่อเชื้อไวรัสและการจำแนก miRNA ที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว

34. ห่วงโซ่อุปทานของสัตว์น้ำอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี : กลุ่มกุ้ง

35. การศึกษายีนและโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับ Tudor staphylococcal nuclease ของกุ้งกุลาดำ ซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งใน RNA-induced silencing complex

36. การศึกษาเปรียบเทียบชนิดของแบคทีเรียในลำไส้กุ้งกุลาดำและกุ้งขาวเมื่อเลี้ยงในสภาวะปกติและ ในสภาวะ ที่มีเชื้อก่อโรค Vibrio harveyi

37. การพัฒนาวิธีการเพาะเลี้ยงเซลล์เม็ดเลือดกุ้งสำหรับการศึกษาไวรัสกุ้งและการพัฒนาเป็นอนุภาคสมบูรณ์แบบของไวรัสหัวเหลืองในเซลล์เม็ดเลือดของกุ้ง

38. การศึกษาบทบาทและหน้าที่ของเยื่อหุ้มไข่ (vitellin envelope) ต่อกระบวนการปฏิสนธิ ของกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon)

39. การศึกษาสมบัติและหน้าที่ของยีน 14-3-3 ในกุ้ง L. vannamei

40. การศึกษา membrane proteome ของเซลล์เม็ดเลือดกุ้งกุลาดำชนิดต่างๆในภาวะติดเชื้อไวรัสหัวเหลือง

41. การศึกษาคุณลักษณะ การกระจาย และการประยุกต์ใช้ฮอร์โมนที่ควบคุมการหลั่ง ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมเพศของกุ้งขาว

42. การประเมินความเสี่ยงทางจุลชีววิทยาของเชื้อ Vibrio vulnificus ในกุ้งขาวเลี้ยง (Penaeus Vannamei) ของไทย

43. การศึกษาคุณลักษณะและหน้าที่ของโปรตีนที่กระตุ้นการพัฒนารังไข่จากสมองและปมประสาทส่วนอกของกุ้งกุลาดำ

44. การศึกษาชนิดประชากรของแบคทีเรียในลำไส้กุ้งกุลาดำและการพัฒนาชุดตรวจจำแนกชนิดแบคทีเรียในลำไส้กุ้งที่สภาวะหลากหลาย

45. การพัฒนาโพรไบโอติกในรูปไมโครแคปซูลประสิทธิภาพสูงในการควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อมและการควบคุมจุลินทรีย์ก่อโรคในการเพาะเลี้ยงกุ้งขาวเศรษฐกิจ

46. การพิสูจน์การเกิดพันธะไดซัลไฟด์ในโปรตีน gp116 ของไวรัสก่อโรคหัวเหลืองในกุ้ง

47. กลไกการกระตุ้นระบบโพรฟีนอลออกซิเดสในกุ้งโดย pattern recognition protein

48. การสร้างพลาสมิดดีเอ็นเอให้มีการผลิตอาร์เอ็นเอสายคู่ในกุ้งเพื่อยับยั้งไวรัส hepatopancreatic parvovirus

49. สมบัติการต้านไวรัสของโปรตีนต้านจุลชีพจากกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon

50. การศึกษาหน้าที่ของโปรตีนลูกผสม GIH และแอนติบอดี้ที่จำเพาะต่อ GIH ในกุ้งกุลาดำ

51. การศึกษาผลของกระบวนการทางอาหารต่อความเป็นสารก่อภูมิแพ้ในกุ้งแชบ๊วยโดยเทคนิคทางโปรตีโอมิกส์

52. การศึกษาคุณลักษณะและความสัมพันธ์ของฮอร์โมนที่ควบคุมการหลั่งกับฮอร์โมนที่กระตุ้นต่อมสืบพันธุ์และฟีโรโมนเพศสัมพันธ์ของกุ้งและปู กับการประยุกต์ใช้ในระบบเพาะเลี้ยง

53. การโคลนและการศึกษาหน้าที่ของ novel C-type lectin ในกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon

54. การค้นหาและศึกษาหน้าที่ของโปรตีนในกุ้งกุลาดำที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ Vibrio harveyi

55. การศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของ CrustinPm1 และ CrustinPm7 จากกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon

56. ฤทธิ์และหน้าที่ของเพปไทด์ต้านจุลชีพที่แยกได้จากกุ้งกุลาดำ

57. การศึกษาคุณลักษณะและการกระจายของฮอร์โมนที่ควบคุมการหลั่ง ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมเพศของกุ้งขาว

58. การป้องกันและรักษาโรคไวรัสกุ้ง (WSSV, YHV, HPV, IHHNV, TSV, LSNV) โดยเทคนิค RNA interference

59. โปรติโอมิกส์ของกุ้งเพื่อการศึกษาโรคไวรัส

60. การวิเคราะห์หน้าที่ของฟีนอลออกซิเดสแอกติเวติงแฟคเตอร์ในกุ้งกุลาดำ

61. การศึกษาความเข้มข้นของโปแตสเซียมและแมกนีเซียมในการเพาะเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมแบบความเค็มต่ำ : การดูดซับโดยดินก้นบ่อและผลต่อการรอดตายและผลผลิตกุ้งขาว

62. การใช้สารสกัดจากสาหร่ายผมนางในการต้านการติดเชื้อแบคทีเรีย การติดเชื้อไวรัส และการเพิ่มภูมิคุ้มกันในกุ้ง

63. การศึกษาบทบาทของ RNA interference เพื่อใช้ควบคุมไวรัสในกุ้งกุลาดำ

64. ผลของความต้องการระบบรับรองและฉลากจากประเทศคู่ค้า ต่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมกุ้งไทย

65. การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งต่อการซื้อขายแบบมีข้อตกลงในตลาดภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ

66. เภสัชจลนศาสตร์ของสารต้านจุลชีพที่ใช้ในการเลี้ยงกุ้ง

67. การศึกษาโครงสร้างและเอ็นไซม์ Na+/K+-ATPase ของเหงือกและต่อม antennal gland ในครอบครัวกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon) ที่เลี้ยงในความเค็มต่ำ

68. การพัฒนาผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกที่มีคุณสมบัติในการควบคุมคุณภาพน้ำย่อยสลายของเสีย บำบัดขี้เลนและควบคุมแบคทีเรียก่อโรคในการเลี้ยงกุ้งทะเลเศรษฐกิจ

69. การศึกษาหาสารก่อภูมิแพ้ที่จำเพาะที่เป็นสาเหตุของการแพ้กุ้งน้ำจืดและกุ้งทะเลที่นิยมบริโภคในคนไทย

70. การพัฒนาอาร์เอ็นเอสายคู่ (dsRNA) เพื่อยับยั้ง infectious hypodermal and hematopoietic necrosis virus (IHHNV) ในกุ้ง

71. การยับยั้งการแสดงออกของยีนฟอติลินในกุ้งขาวโดยเทคนิค RNAi

72. เทคโนโลยี RNA interference เพื่อการควบคุมและป้องกันโรคตัวแดงจุดขาว (WSSV) และ HPV ในกุ้งกุลาดำ

73. การศึกษาคุณสมบัติของโปรตีนที่มีการแสดงออกในเนื้อเยื่อผิวหนังสัมพันธ์กับวงจร การลอกคราบของกุ้งกุลาดำด้วยโปรตีโอมิกซ์

74. การแพร่กระจาย ค่าความชุก และ สัณฐานวิทยาของโปรโตซัวปรสิต (Nematopsis spp.) ในกุ้ง หอย และปู เศรษฐกิจ บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย

75. ผลของแมกนีเซียมต่อการพัฒนาของไข่ที่ได้รับการ ผสมแล้วในกุ้งกุลาดำ

76. การคัดเลือกและผลิตจุลินทรีย์น้ำเค็ม Schizochytrium sp. เพื่อใช้เป็นแหล่ง DHA สำหรับการเพาะเลี้ยงลูกกุ้ง

77. กลไกการทำงานของเอนไซม์ไดเซอร์ต่อการใช้อาร์เอนเอในการยับยั้งการแสดงออกของยีนในกุ้งกุลาดำ

78. การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของกุ้งกุลาดำภายหลังจากการติดเชื้อไวรัสโรคหัวเหลือง

79. การศึกษาลักษณะสมบัติของของเปปไทด์ต้านจุลชีพ GWAP จากกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon

80. การประยุกต์การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมภายในห่วงโซ่การผลิตกุ้งขาวแช่เยือกแข็ง

81. การใช้เทคนิค RNAi ในการยับยั้งการติดเชื้อ HPV ในกุ้งกุลาดำ

82. การจัดการโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมกุ้งขาวลิโทพีเนียสแวนาไมในประเทศไทย

83. สาเหตุของการโตช้าของกุ้งขาว (Penaeus vannamei) จาการติดเชื้อไวรัส Infectious hypodermal and hematpoietic necrosis (IHHN) การปรับตัวให้อยู่กันได้ของกุ้งกุลาดำ(Penaeus monodon) กับเชื้อไวรัส IHHN

84. การพัฒนาอาหารกุ้งที่มีส่วนผสมของสารสกัดเคอร์คิวมินอยด์เพื่อระงับการเจริญของเชื้อวิบริโอก่อโรคในกุ้ง

85. การศึกษาการแสดงออกของ apoptotic และ antiapoptotic genes ในกุ้งกุลาดำที่ติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวและกุ้งที่ทนต่อการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว

86. การสร้าง siRNA จาก 3 genes (non-structural gene) ของเชื้อไวรัสหัวเหลืองและการทดสอบประสิทธิภาพในการยับยั้งการติดเชื้อไวรัสหัวเหลืองในเซลล์ต่อมน้ำเหลืองและในกุ้งกุลาดำ

87. การพัฒนาเพื่อเพิ่มความต้านทานต่อโรค Taura syndrome ในกุ้งด้วยเทคนิค RNAi

88. ผลของความดันสูงต่อโปรตีนกล้ามเนื้อและการเกิดเจลของกุ้งกุลาดำ

89. การปรับเปลี่ยนของผิวเซลล์อสุจิโดยโปรตีนในถุงเก็บอสุจิ (thelycum) ของกุ้ง Penaeus monodon เป็นขบวนการที่จำเป็นก่อนการปฏิสนธิ

90. การศึกษาประสิทธิภาพของฟิวคอยด์แดนสารสกัดจากสาหร่ายทะเลในการควบคุมการติดเชื้อไวรัสดวงขาวในกุ้งกุลาดำ

91. การใช้ SiRNA เทคโนโลยีพัฒนาภูมิคุ้มกันการติดเชื้อไวรัสของกุ้ง

92. การโคลนและการศึกษาการแสดงออกของโปรตีนของตัวตอบรับ 5-HT ในกุ้งกุลาดำ

93. การโคลนและศึกษาหน้าที่ของ gonad-inhibiting hormone ในกุ้งกุลาดำ

94. การศึกษาพัฒนาการใช้ไส้เดือนทะเลครอบครัว Capitellidae เพื่อเป็นตัวบำบัดมลพิษของดินในระบบการเลี้ยงกุ้งกุลาดำปัจจุบัน

95. การสังเคราะห์และวิเคราะห์หน้าที่ของฮอร์โมนในกลุ่ม CHH/MIH/GIH ของกุ้งกุลาดำ

96. การศึกษาคุณสมบัติของตัวตอบรับซีโรโตนินในกุ้งกุลาดำ

97. การคัดเลือกจุลินทรีย์สายพันธุ์ธรรมชาติที่มีประโยชน์จากระบบทางเดินอาหารของกุ้งกุลาดำ

98. การควบคุมคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงกุ้งโดยการเลี้ยงกุ้งกุลาดำร่วมกับสาหร่ายสไปรูลินา

99. การเพิ่มสารอาหาร astaxanthin และ highly unsaturated fatty acid เพื่อปรับปรุงการเจริญพันธุ์ในกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Fabricius) จากการเพาะเลี้ยง

100. การวิเคราะห์จีโนมและการตรวจหาโปรตีนยับยั้งขบวนการ apoptosis จากเฮปาโตแพนครีเอติกพาร์โวไวรัสในกุ้งกุลาดำ

Recent Posts