สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา

จำนวน 151 เรื่อง

1. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง อิทธิพลของต้นตอต่อการดูดซึมธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตสเซี่ยม และการเจริญเติบโตทางกิ่งใบของมะม่วงพันธ์น้ำดอกไม้

2. การพัฒนาคุณภาพของผลมะม่วงสามปีโดยใช้ปุ่ยโพแทสเซียม;Sam-Pee Mango Clones (Mangifera indica. C) Fruit Quality Development by Potassium Fertilizer Application

3. ผลกระทบของสายต้น ความสุกแก่ และกระบวนการแปรรูปที่มีต่อคุณภาพของน้ำมะม่วงและไวน์มะม่วง จากมะม่วงสามปี (Manfifera indica L.);Effect of Clone, Maturity and Processing on Quality of Mango (Manfifera indica L.), \\\\

4. ผลของวิธีการเก็บรักษาเนื้อมะม่วงสามปี (Mangifera indica L.) บดที่มีต่อปริมาณแคโรทีนและคุณภาพของเครื่องดื่มน้ำมะม่วงและไวน์มะม่วง;Effect of Sam-Pee Mango (Mangifera indica L.) Pulp Preservation on Carotene Content and the Quality Mango Juice and Wine

5. เปรียบเทียบการใช้มะม่วงแก้วและมะม่วงสามปีเป็นต้นตอมะม่วงพันธุ์ดี;Comparison on Sampee and Kawe mango. Roots toeks For good varieties propagation

6. การประเมินความเสียหายของมะม่วงเนื่องจากแมลงวันผลไม้และการป้องกันกำจัดในสถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง;Yield Loss Evaluation and Control Measure of Dacus dorsalis in Mango

7. การทดลองใช้สารบีโนมีลร่วมกับน้ำร้อนในการควบคุมโรคแอนแทรกโนสของผลมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้และพันธุ์หนังกลางวัน;Use of Benomyl in Hot Water Treatment To Control Anthracnose In Mango Fruit : NAMDIKMAI NANGKLANFGWAN Variety

8. การศึกษาดัชนีการเก็บเกี่ยวของมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้และหนังกลางวันในสภาพแวดล้อมของลำปาง;A Study on Harvesting Indices of Mango cvs. Nam Dokmai and Nang Klangwan in Lampang Environment

9. การศึกษาการเจริญเติบโตและพัฒนาของผลมะม่วงพันธุ์เขียวเสวย หนองแซง ฟ้าลั่น พิมเสนมัน และ ทองดำ;A Study on Growth and Development Of Mango (Mangifera indica L.) Pruits Cvs. Kaew Sawei, Nong Sang, Fa-Lan, Pimsen Mun and Tong Dam

10. การศึกษาการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการออกดอกและติดผลมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้และหนังกลางวัน;A Study on Plant Growth Regulators on Flowering and Fruit Setting of Mango cvs. Nam Dok Mai and Nang Klang Wan

11. การควบคุมโรคแอนแทรกโนสและทำลายไข่แมลงวันผลไม้ในมะม่วง พันธุ์หนังกลางวันและพันธุ์น้ำดอกไม้ด้วยวิธีจุ่มผลมะม่วงในน้ำร้อนที่อุณหภูมิและระยะเวลาที่กำหนด;control of Anthracnos and Fruit Fly Eggs in Mango (NANGKLANGWAN and NAMDOKMAI Varieties) by Hot water Trea

12. การทดสอบการตอบสนองของตัวเต็มวัยแมลงวันผลไม้ต่อมะม่วงสุก 15 พันธุ์และหนอนแมลงวันผลไม้ ในมะม่วงพันธุ์ต่างๆ;A Study of Adult Fruit Fly (Dacus latifrons Hendel)Attracts to 15 Varieties of Mango and Number of Its Larvae in Those Mango Varieties

13. การศึกษาการเจริญเติบโตและพัฒนาการของผลมะม่วงพันธุ์เขียวเสวย หนองแซง ฟ้าลั่น พิมเสนมัน และทองดำ;A Study on Growth and Development of Mango ( Mangifera indica L.) cvs. Kaew Sa Wei, Nong Sang, Fa-Lan, pimsen Mun, and Tong Dam.

14. การศึกษาดัชนีการเก็บเกี่ยวของผลมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้และหนังกลางวัน;A Study on Harvesting Indices of Mango cvs. Nam Dok mai and Nang Klang Wan in Lampang Environment

15. การศึกษาการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการออกดอกและติดผลมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้และหนังกลางวัน;A Study on Plant Growth Regulators on Flowering and Fruit Setting of Mango cvs. Nam Dok mai and Nang Klang Wan

16. การทดสอบมะม่วงแปดพันธุ์กับแมลงวันผลไม้ชนิดดาร์คัส คอร์เรคตัส [Dacuscorrectus (Bezzi)] ด้วยเครื่องทดสอบประสิทธิภาพสารล่อแมลงวันผลไม้;A study on the Attracting of Oriental Fruit Fly Dacus correctus(Bezzi) to 8 Varieties of Mango by Using alfactometer.

17. การศึกษาคุณลักษณะและการปรับตัวของมะม่วงแก้วสายพันธุ์ต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมลำปาง;Study on the Adaptibility and Some Characteristics of “Keaw” Mango Clones (Mangifera indica L.) in Lampang Environment

18. การศึกษาคุณลักษณะการปรับตัวของมะม่วงสามปีสายพันธุ์ต่างๆ ในสภาพแวดล้อมของลำปาง;A Study on the Adaptibility and Characteristics of “Sam-Pee” Mango Clones (Mangifera indica L.) in Lampang Environment

19. การศึกษาคุณลักษณะและการปรับตัวของมะม่วงแก้วสายพันธุ์ต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมลำปาง;Study on the Adaptibility and Some Characteristics of “Keaw” Mango Clone (Mangifera indica L.) in Lampang Environment

20. การศึกษาช่วงเวลาที่เหมาะสมในการตัดแต่งกิ่งเพื่อการออกดอกนอกฤดูของมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์;The Study on Time of Pruning for Off Season of Mango cv. Choke-a-nan.

21. ผลของวิธีการเก็บรักษาเนื้อมะม่วงสามปี (Mangifera indica L.) บดที่มีต่อปริมาณแคโรทีนและคุณภาพของเครื่องดื่มน้ำมะม่วง และไวน์มะม่วง;Effect of Sam-Pee Mango (Mangifera indica L.) Pulp Preservation on Carotene Content and the Quality Mango Juice an

22. การพัฒนาคุณภาพของผลมะม่วงสามปีโดยใช้ปุ๋ยโพแทสเซียม;Sam-Pee Mango Clones (Mangifera indica. L) Fruit Quality Development by Potassium Fertilizer Application

23. การป้องกันกำจัดเพลี้ยจักจั่นมะม่วงโดยใช้สารสกัดจากพืชบางชนิด;Controlled Mango Leaf Hopper (Idiocerus spp.) by Some Botanical Insecticide

24. ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์หางไหลในการควบคุมโรคและแมลงศัตรูมะม่วงและส้มโอ ในแปลงปลูก;Field Efficiency of Derris Products to Control Pathogens and Insect Pests of Mango (Mangifera indica L.) and Pomelo (Citrus grandis L. Osbeck)

25. ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์หางไหลในการควบคุมโรคและแมลงศัตรูมะม่วงและส้มโอ ในแปลงปลูก;Field Efficiency of Derris Products to Control Pathogens and Insect Pests of Mango (Mangifera indica L.) and Pomelo (Citrus grandis L. Osbeck)

26. การพัฒนาสูตรสำเร็จเชื้อราเพื่อประยุกต์ใช้ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสและแมลงวันผลไม้ในส่วนมะม่วง;Development of Fungal Formulations to Control Anthracnose and Fruit Flies in Mango Orchard

27. ผลของวัสดุห่อผล ต่อการควบคุมโรค และคุณภาพ ของผลมะม่วงมหาชนก ก่อน และหลังการเก็บเกี่ยว;Preharvest and Postharvest Effects of Fruit Wrapping materials to Diseases Control and Fruit Quality of Mangifera indica L. cv. Mahachanok

28. การประยุกต์ใช้เชื้อยีสต์ Issatchenkia orientalis ในการป้องกันกำจัดโรคหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วง;Application of Issatchenkia orientalis For Controlling of Postharvest Diseases of Mango

29. การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแนะนำวิถีชีวิตและสถานที่ท่องเที่ยว ตำบลป่ามะม่วง อำเภอเมือง จังหวัดตาก;Multimedia Development of Guidance and Tourist Attraction in Pamamuang sub-district Tak Province

30. การควบคุมโรคแอนแทรคโนสของมะม่วงระยะหลังการเก็บเกี่ยวด้วยน้ำมันหอมระเหยจากพืชบางชนิด;Postharvest Control of Anthracnose Mango Fruit by Essential Oils from some plants

31. ไวน์ลูกหนามแดง (มะม่วงหาวมะนาวโห่) : รายงานการวิจัย;Wine karanda (carissa carandas linn)

32. ผลของ ethephon NAA และทิศของทรงพุ่มที่มีต่อการแสดงเพศดอกและขนาดของช่อดอกมะม่วงพันธุ์เขียวเสวย;Effect of Ethephon, NAA and Direction of Canopy on Sex Expression and panicle Size of Mangifera indica L. cv. Khiew Sawoey

33. อิทธิพลของสารเคมีชนิดต่าง ๆ ต่อการออกดอกของมะม่วงพันธุ์เขียวเสวย;Influence of Various Chemicals on Flowering of Mango Cultivar Keo-sa-woei

34. ผลการเคลือบผิวต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาของมะม่วงอกร่อง;Effects of Waxing on Quality and Storage Life of Mango (Mangifera indica L.) cv. okrong Fruits.

35. ศึกษาเปรียบเทียบผลผลิตเห็ดหนูระหว่างการเพาะในไม้มะม่วงกับยูคาลิปตัส;A Study on Yield Comparison of Auricularia politricha Sacc Between Cultured in Mango and Eucalyptus Wood.

36. รายงานการวิจัยเรื่องการรวบรวมมะม่วงพื้นเมืองเพื่อการศึกษา;การรวบรวมมะม่วงพื้นเมืองเพื่อการศึกษา

37. ผลของคัลทาร์ต่อการยืดอายุการพัฒนาของดอกมะม่วงแก้ว ในพื้นที่ กึ่งแห้งแล้งของภาคเหนือตอนบน;Effect of cultar on ectending flowering period of keaw mango in semi-arid area of the upper North

38. ผลการยับยั้งของจุลินทรีย์ที่ผลิตไคติเนส ต่อเชื้อราสาเหตุของโรคในมะม่วงและลำไย;รายงานวิจัยเรื่องผลการยับยั้งของจุลินทรีย์ที่ผลิตไคติเนส ต่อเชื้อราสาเหตุของโรคในมะม่วงและลำไย ;Inhibitory effect of Chitinase producing microorganisms on pathogenic molds of ma

39. ผลิตภาพ คุณภาพ และการขยายผลของมะม่วงแก้วสายต้นคัด;Productivity, quality and extension of selected Kaew mango clones

40. ผลิตภาพของมะม่วงในระบบเกษตรผสมผสานบนที่ดอนอาศัยน้ำฝน;Productivity of mango in an integrated farming system on the rainfed upland

41. ปัญหาและความต้องการในการปลูกมะม่วงของเกษตรกรบนที่ดอนอาศัยน้ำฝน;Mango growing’s problems and needs of the farmers in the rainfed upland

42. การเปรียบเทียบพันธุ์มะม่วงเพื่อพัฒนาการเกษตรแบบยืนยงบนที่ดอนอาศัยน้ำฝน;Comparison of performance of mango cultivars for developing sustainable agriculture in the rainfed uplands

43. การจัดการแบบมีส่วนร่วมในความหลากหลายทางพันธุกรรมของมะม่วงแก้วบนเขตนิเวศที่ดอน;Participatory management of Kaew mango genetic diversity in upland ecoregion

44. การชักนำให้เกิดการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในกระบวนการวิจัย : การคัดเลือกสายต้นมะม่วงท้องถิ่น;Promoting farmer participation in the research process : clonal selection of local mango germplasm

45. การผสมผสานไม้ยืนต้น เพื่อการพัฒนาระบบการเกษตรที่ยืนยงบนที่ดอนอาศัยน้ำฝน : 2 การเปรียบเทียบพันธุ์มะม่วงที่มีอายุ 4 ปี;Integrating woody perennial species for sustainable agriculture in a rainfed upland 2 Comparison of four year-old mango cultivars

46. การผสมผสานไม้ยืนต้น เพื่อการพัฒนาระบบการเกษตรที่ยืนยงบนที่ดอนอาศัยน้ำฝน 2. การเปรียบเทียบพันธุ์มะม่วงที่มีอายุ 3 ปี;Integrating woody perennial species for sustainable agriculture in a rainfed upland 2 comparison of three year-old mango cultivars

47. การยับยั้งการเจริญของราก่อโรคต่อมะม่วงและส้ม โดยแบคทีเรียทนอุณหภูมิสูงที่ผลิตไคติเนส;Growth inhibition of mango and orange fruit pathogenic molds by thermotolerant chitinase producing bacteria

48. การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางพันธุกรรมของมะม่วงแก้ว เพื่อสร้างทางเลือกให้กับเกษตรกรบนที่ดอนอาศัยน้ำฝน;Exploiting mango genetic diversity to provide alternatives for rainfed upland farmers

49. การใช้ประโยชน์จากไม้กันลมเพื่อลดความเสี่ยงการผลิตมะม่วงบนที่ดอนอาศัยน้ำฝน;Use of windbreaks to reduce production risk in rainfed upiand mango

50. พืชตระกูลถั่วบำรุงดินในระบบเกษตรผสมผสานที่มีมะม่วงเป็นพืชหลัก บนที่ดอนอาศัยน้ำฝน;Soil improving legume in mango-based integrated farming system in rainfed uplands

51. การพัฒนาพันธุ์มะม่วงสำหรับที่ดอนอาศัยน้ำฝน และโอกาสของมะม่วงอุตสาหกรรมในภาคเหนือตอนบน; Development of mango cultivars for the rainfed upland and opportunity of processing mango in the upper North

52. การใช้มะม่วงเพื่อพัฒนาที่ดอนอาศัยน้ำฝน;Use of mango to develop rainfed uplands

53. งานวิจัยมะม่วงแก้วเชิงระบบเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจชนบทและระบบนิเวศน์บนที่ดอน;Systems research on Kaew mango for regenerating rural economy and rehabilitating upland ecosystems

54. พัฒนาการของมะม่วงแก้วในสภาพที่ดอนอาศัยน้ำฝนของภาคเหนือตอนบน;Phenology of Kaew mango in the rainfed upland environment

55. โครงการเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีระหว่างการสุกและการเก็บรักษาแบบแช่เยือกแข็งของมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์และมหาชนก ;Biochemical changes during ripening of mango fruit and frozen storage of mango flesh cv. Chok-Anan and Maha-Chanok)

56. การแก้ปัญหาการให้ผลเว้นปี และการปรับปรุงเทคนิคการผลิตผลไม้นอกฤดูกาลในลิ้นจี่ ลำไย และมะม่วง;Reducing alternation and production of off-season fruit in lychee longan and mango

57. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สารออกฤทธิ์จากข่า เพื่อใช้ควบคุมโรคผลเน่าหลังจากเก็บเกี่ยวในมะม่วง ;Formulation development of extract from galanga (Alpinia galanga Sw.) to control postharvest mango fruit rot

58. การปรับปรุงคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วงพันธุ์มหาชนกเพื่อการส่งออก ;Improvement on postharvest quality of

59. การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา คุณสมบัติทางกายภา และองค์ประกอบทางเคมีหลังการเก็บเกี่ยวของผลมะม่วงแก้วที่มีระดับความแก่ต่างกัน;CHANGES OF POSTHARVEST PHYSIOLOGY, PHYCICAL PROPERTIES AND CHEMICAL COMPONENTS ON DIFFERENT MATURITY STAGE OF MANGOES (Mangifera indi

60. การศึกษาผลของการตัดกิ่งต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกของมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ในระยะปลูกชิด;The effect of cutting back on growth and flowering of high density planting ‘choc anon’ mango;รายงานผลงานวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้เรื่องการศึกษาผลของการตัดกิ่งต่อการเจร

61. โครงการการใช้คลื่นไมโครเวฟในการให้ความร้อนแก่มะม่วงเพื่อการส่งออก;รายงานผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้เรื่องโครงการการใช้คลื่นไมโครเวฟในการให้ความร้อนแก่มะม่วงเพื่อการส่งออก

62. รายงานการวิจัยโครงการการศึกษาระดับคาร์โบไฮเดรตในยอดมะม่วงที่ได้รับสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก และธาตุอาหารพืชบางธาตุโดยชนิดและปริมาณต่างกัน;Studies on carbohydrate content in mango treated with different kinds and levels of simple molecules of organic

63. การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากใบมะม่วงต่อเชื้อไวรัสหัวเหลือง และเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ;The virucidal of Mangifera indica Linn. extracts against Yellow-head virus and systemic ectodermal and mesodermal Baculovirus on black tiger shrimp (Penaeus mon

64. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันในตลาดต่างประเทศ : บทที่ 5 การศึกษาลักษณะทางประสาทสัมผัสและเนื้อมะม่วง

65. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 2 การศึกษาคุณสมบัติทางเคมีของมะม่วงพันธุ์ที่มีศักยภาพในการส่งออก;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

66. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 2 การศึกษาคุณสมบัติทางเคมีของมะม่วงพันธุ์ที่มีศักยภาพในการส่งออก;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

67. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 4 การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของพันธุ์มะม่วงสดที่มีศักยภาพในการส่งออก;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

68. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 5 การศึกษาลักษณะทางประสาทสัมผัสของผล และเนื้อมะม่วง;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

69. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 6 การศึกษาความชอบของผู้บริโภค;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

70. ร่างรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 7 การศึกษาช่องทางการจำหน่ายมะม่วงสดในตลาดเป้าหมาย;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

71. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 9 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประสาทสัมผัส คุณสมบัติทางเคมี กลิ่นหอมระเหย และคุณสมบัติทางกายภาพกับความชอบของผู้บริโภค;Development of mango prod

72. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ของการวิจัยซึ่งได้รับทุนอุดหนุนทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ 2545 เรื่อง การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มปริมาณต้นพันธุ์มะม่วงแก้ว;Development of disease free plants production of mango Kaew

73. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 1 การกำหนดพันธุ์มะม่วงสดที่มีศักยภาพในการส่งออก;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

74. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ประเภททุนอุดหนุนทั่วไปประจำปี 2533 มหาวิทยาลัยขอนแก่น : โครงการ : การขยายพันธุ์มะม่วงโดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ;โครงการ : การขยายพันธุ์มะม่วงโดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ;การขยายพันธุ์มะม่วงโดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ;Project

75. รายงานผลความก้าวหน้าโครงการวิจัยประเภทกำหนดหัวข้อประจำปี 2524 ;โครงการวิจัยประเภทกำหนดหัวข้อประจำปี 2524 ;โครงการการปรับปรุงพันธุ์มะม่วง ให้มีลักษณะผลเหมาะสำหรับส่งออกไปจำหน่ายยังตลาดต่างประเทศ

76. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยการศึกษาความชอบของผู้บริโภคชาวญี่ปุ่นและจีนที่มีต่อผลมะม่วงและเนื้อมะม่วงสุกพันธุ์น้ำดอกไม้สีทองและพันธุ์โชคอนันต์;Japanese and Chinese consumer preference of ripe fruit and flesh of “Nam Dok Mai See Thong” and “Chockanan

77. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันในตลาดต่างประเทศ : บทที่ 5 การศึกษาลักษณะทางประสาทสัมผัสและเนื้อมะม่วง

78. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 2 การศึกษาคุณสมบัติทางเคมีของมะม่วงพันธุ์ที่มีศักยภาพในการส่งออก;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

79. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 2 การศึกษาคุณสมบัติทางเคมีของมะม่วงพันธุ์ที่มีศักยภาพในการส่งออก ;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

80. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 4 การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของพันธุ์มะม่วงสดที่มีศักยภาพในการส่งออก;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

81. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 5 การศึกษาลักษณะทางประสาทสัมผัสของผล และเนื้อมะม่วง ;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

82. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 6 การศึกษาความชอบของผู้บริโภค;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

83. ร่างรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 7 การศึกษาช่องทางการจำหน่ายมะม่วงสดในตลาดเป้าหมาย ;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

84. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 9 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประสาทสัมผัส คุณสมบัติทางเคมี กลิ่นหอมระเหย และคุณสมบัติทางกายภาพกับความชอบของผู้บริโภค;Development of mango prod

85. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ของการวิจัยซึ่งได้รับทุนอุดหนุนทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ 2545 เรื่อง การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มปริมาณต้นพันธุ์มะม่วงแก้ว;Development of disease free plants production of mango Kaew

86. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 1 การกำหนดพันธุ์มะม่วงสดที่มีศักยภาพในการส่งออก ;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

87. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงและความสามารถในการแข่งขันตลาดต่างประเทศ บทที่ 3 การศึกษาชนิดและปริมาณน้ำตาล กรด และกลิ่นหอมระเหยของพันธุ์มะม่วงสด ;Development of mango products and their competitive advantage in export markets

88. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ของการวิจัยซึ่งได้รับทุนอุดหนุนทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ 2546 เรื่อง การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มปริมาณต้นพันธุ์มะม่วงแก้ว;Development of disease free plants production of mango Kaew

89. อิทธิพลของสภาพดินฟ้าอากาศต่อการออกดอกของมะม่วง

90. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์อิทธิพลของระบบน้ำแบบสปริงเกอร์และระบบน้ำหยดที่มี ต่อการเจริญเติบโตธาตุอาหารบางชนิดและปริมาณคาร์โบไฮเดรตสะสมของมะม่วงและ ฝรั่ง;Influence of sprinkler and drip irrigations to growths, nutrients and carbohydrate reserve of mango and gua

91. ผลของการตัดแต่งกิ่ง 5 รูปทรง ต่อการผลิใบ การออกดอกและผลผลิตของมะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง;Effect of 5 training system on leaf flushing flowering and yield of mango CV. namdokmai sethong

92. รายงานผลการวิจัย เรื่อง การใช้สารสกัดหยาบจากเปลือกว่านหางจระเข้เพื่อควบคุมโรคแอนแทรคโนสและโรคขั้วผลเน่าในมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้ เขตอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคิรีขันธ์;Control of anthracnose and stem end rot on mango fruit (Mangifera indica linn) cv. Nam D

93. ผลของการใช้สารทดแทนน้ำตาลต่อคุณภาพของมะม่วงแช่อิ่ม;Effect of used sweetener on the quality of preserved mango

94. การผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากของเสียเศษเปลือกมะม่วงสุกจากโรงงานอุตสาหกรรม;Composting of industrial ripen mango peel waste

95. การสกัดภาพข้อมูลดาวเทียมจากกูเกิ้ลเอิร์ธเพื่อการนับต้นมะม่วง: กรณีศึกษาอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

96. อิทธิพลของระยะเวลาในการห่อผลโดยใช้ถุงกระดาษคาร์บอนต่อคุณภาพผลมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้สีทอง;Influence of period fruit bagging using by carbon bag to mango CV. namdokmai sethong quality

97. ประสิทธิภาพของสารสกัดจากไมยราบต่อการควบคุมโรคแอนแทรคโนสของมะม่วงน้ำดอกไม้ในระหว่างการเก็บรักษา;Efficacy of extracts from Mimosa pudica L. for controlling anthracnose disease of ‘Nam Dok Mai’ mangoes during storage

98. การใช้ประโยชน์จากผงเปลือกมะม่วงเพื่อเป็นแหล่งของสารต้านอนุมูลอิสระและใยอาหารในผลิตภัณฑ์บะหมี่และแผ่นเกี๊ยว;Utilization of powdered mango peels as a source of antioxidants and fiber in noodle and dumplings products

99. การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิคส์เพื่ออนุรักษ์อาหารพื้นบ้านประจำท้องถิ่นของชุมชนตำบลป่ามะม่วง อำเภอเมือง จังหวัดตาก;Developing electronic book is to preserve the local cuisine Community wilderness Pamamung District, Tak Province

100. การศึกษาผลของกระดาษจากเศษไม้มะม่วงกลึงที่มีต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน

Recent Posts