สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

จำนวน 54 เรื่อง

1. การจัดการดินเพื่อลดการเกิดโรคเหี่ยวของขิงจากเชื้อแบคทีเรีย

2. ผลของการจัดการดินเพื่อลดการเปลี่ยนแปลงประชากรของเชื้อแบคทีเรีย Pseudomonas solanacearam ในดินและการเกิดโรคเหี่ยวของขิง

3. การศึกษาหาพารามิเตอร์ที่จำเป็นสำหรับการวิเคราะห์การอบแห้งขิง

4. ประสิทธิภาพของขิงในการป้องกันอาการคลื่นไส้และอาเจียนหลังการผ่าตัดด้วย กล้องส่องช่องท้องทางนรีเวชแบบผู้ป่วยนอก

5. การใช้ความร้อนต่ำร่วมกับสารสกัดจากขิงในการยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ในน้ำส้ม

6. การศึกษาเซลล์พันธุศาสตร์พรรณไม้วงศ์ขิงบางชนิดในเขตอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า จังหวัดพิษณุโลก

7. แนวทางในการป้องกันกำจัดแมลงวันบ้านโดยใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรวงศ์ขิง

8. การออกแบบเชิงการยศาสตร์ สำหรับมีดตัดแต่งขิงดอง

9. โครงการการสำรวจและรวบรวมพืชวงศ์ขิงเพื่อการอนุรักษ์และขยายพันธุ์

10. การพัฒนาและสร้างเครื่องหั่นและฝานขิงสด

11. โครงการความสัมพันธ์ระดับพันธุกรรมและความสามารถในการผลิตสารต้านเชื้อจุลินทรีย์ของเชื้อราเอนโดไฟติกและซาโพรบิกในพืชวงศ์ขิง

12. แนวทางในการป้องกันกำจัดแมลงวันบ้าน โดยใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรวงศ์ขิง และวงศ์พริกไทย

13. กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบของพืชสกุลข่า (วงศ์ขิง) ในประเทศไทย

14. การพัฒนากระบวนการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขิง ในเชิงพาณิชย์

15. ผลของน้ำมันหอมระเหยในพืชวงศ์ขิงต่อการต้าน จุลินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในอาหาร

16. การพัฒนากระบวนการผลิตน้ำขิงผงโดยใช้เครื่องระเหยแบบผสมภายใต้สุญญากาศ

17. การพัฒนากระบวนการทำแห้งสมุนไพรขิงโดยใช้ เครื่องทำแห้งแบบลดความชื้น โดยใช้เครื่องทำแห้งแบบลมร้อน เครื่องทำแห้งแบบลดความชื้น โดยใช้เครื่องสูบ และเครื่องทำแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสม

18. สารถนอมอาหารจากขิงสกัด เพื่อเป็นสารต้านอนุมูลอิสระในน้ำมันพืชและสารต้านแบคทีเรีย

19. การพัฒนากระบวนการผลิตน้ำขิงผง โดยใช้เครื่องระเหยแบบผสมภายใต้สุญญากาศ

20. ผลของสภาพควบคุมบรรยากาศและบรรยากาศดัดแปลงต่อคุณภาพขิงสดที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำ

21. การศึกษาชนิดและปริมาณของสารที่มีในน้ำมันหอมระเหยของพืชตระกูลขิง

22. การอบแห้งพืชวงศ์ขิง (Zingiberaceae) ไอน้ำร้อนยวดยิ่ง

23. ลายพิมพ์ดีเอ็นเอของพืชวงศ์ขิงในเขตจังหวัดหนองคาย โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลอาร์เอพีดี

24. ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ ในการควบคุมโรคเหี่ยวและเพิ่มผลผลิตของขิง

25. การพัฒนากระบวนการทำแห้งสมุนไพร [ขิง] โดยใช้เครื่องทำแห้งแบบลดความชื้น โดยใช้เครื่องทำแห้งแบบลมร้อน เครื่องทำแห้งแบบลดความชื้น โดยใช้เครื่องสูบและเครื่องทำแห้งพลังแสงอาทิตย์แบบผสม

26. การศึกษาและพัฒนากระบวนการผลิตสมุนไพร และผลผลิตทางการเกษตรเป็นน้ำมันหอมระเหย กรณีตะไคร้หอม มะนาว ส้ม มะกรูด และขิง

27. การศึกษากลไกการออกฤทธิ์ของสารสกัดและสารบริสุทธิ์จากขิง ที่มีต่อการแสดงออกของยีน Human Telomerase Reverse Transcriptase [hTERT] เพื่อพัฒนายาใหม่ในการบำบัดโรคมะเร็ง

28. อนุกรมวิธานพืชวงศ์ขิงในจังหวัดหนองคาย

29. การตรวจสอบค่าต่ำสุดของสารสกัดจากขิง ข่า และฮว่านง็อก ที่มีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแคมไพโลแบคเตอร์

30. การสำรวจพรรณไม้วงศ์ขิงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี [ระยะที่ 1]

31. ผลของสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินชุดบ้านจ้อง (กลุ่มชุดดินที่ 29) ต่อ การแพร่ระบาดของโรคเหี่ยวของขิงที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เมื่อมีการจัดการดิน เพื่อเพิ่มผลผลิตขิงในพื้นที่ อ. เวียงป่าเป้า จ. เชียงราย

32. การประเมินผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตขิงกระเจี๊ยบเขียว (Abelmoschus esculemtus (L.) Moench) ในภาคใต้

33. การลดการตกตะกอนในน้ำขิงพร้อมดื่มบรรจุขวด

34. การสำรวจพรรณไม้วงศ์ขิงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี (ระยะที่ 2)

35. ผลของการใช้ไคโตซานและสารสกัดจากขิงเป็นสารต้านอนุมูลอิสระและสารต้านเชื้อจุลินทรีย์ในเนื้อวัวบด

36. การใช้กานพลู ขิง ข่า กระชาย และพริกไทย เพื่อใช้เป็นยาสลบในลูกปลาดุกบิ๊กอุย

37. เทคนิคการเพิ่มผลผลิตขิง

38. การพัฒนาผลิตภัณฑ์กัมมี่สมุนไพรไทยแคลอรี่ต่ำ : ขิง

39. ฤทธิ์ต้านเบาหวาน และลดความอ้วน ของสารสกัดเหง้าขิง และ สารประกอบหลัก

40. ผลของบรรยากาศดัดแปลงต่ออายุการเก็บรักษาขิงสด

41. การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากมะเฟืองและขิงในการยับยั้งเอนไซม์ CYP2A13 และ CYP2A6 ที่ย่อยสลายสารก่อมะเร็ง 4-(methylnitrosa-mino)-1-(3-pyridyl)-1-butanone (NNK) ในคน

42. การพัฒนาชุดตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนของเชื้อรา Aspergillus สายพันธุ์สร้าง Aflatoxin ในขมิ้นชันและขิง

43. กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบและเรณูวิทยาของพืชสกุลกระเจียว (วงศ์ขิง) ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

44. การสกัด ทำบริสุทธิ์ และพิสูจน์เอกลักษณ์ ของสารออกฤทธิ์ชีวภาพกลุ่มโปรตีน เปปไทด์ ที่มีฤทธิ์ในการต้านการเปลี่ยนสภาพของเซลล์สลายกระดูกจากพืชวงศ์ขิง

45. ผลของน้ำมันหอมระเหยจากขิงต่อ Planktoic cells และไบโอฟิมพ์ ของ Candida aldicans

46. ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ดื้อยา อนุกรมวิธาน และองค์ประกอบทางเคมีเบื้องต้น ของสารสกัดหยาบจากเชื้อเอนโดไฟติกแอคติโนมัยสีทที่แยกจากพืชวงศ์ขิง

47. ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของน้ำมันขิงต่อกล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมที่แยกจากกายของหนูขาว

48. สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชื้อรา Nodulisporium sp. และ Fusarium sp. จากพืชตระกูลขิง

49. ประสิทธิภาพของ benzyladenine, kinetin และน้ำมันหอมระเหยจากขิง (สารทางเลือกใหม่) ในการชะลอการเสื่อมสภาพของใบเฟินนาคราช

50. การใช้ประโยชน์จากพืชวงศ์ขิง: กากเหง้าขิงดูดซับสารให้ความชุ่มชื้น เพื่อประยุกต์ใช้เป็นสครับขัดผิวในธุรกิจสปาไทย

Recent Posts