สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา

จำนวน 99 เรื่อง

1. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อทุเรียนพันธุ์หลงลับแล;Tissue culture of Durian (Durio zibethinus Murr.) cv. Longlablae

2. ศึกษาชนิดและปริมาณสารซัลไฟต์ที่ใช้ในทุเรียนกวนและอายุการเก็บรักษา ;A Study of Types and Quantites of Sulfite using in Durian paste and Shelf life.

3. ประสิทธิภาพของการกำจัดตะกั่วจากน้ำเสียสังเคราะห์ด้วยถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าว ไม้โกงกาง และเปลือกทุเรียน;Lead removal from synthetic wastewater by activated carbon from coconut shells / Mangrove forest/ Durio zibethinus

4. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์การศึกษาคุณสมบัติการดูดซับสีย้อมของถ่านกัมมันต์ที่สังเคราะห์จากเปลือกทุเรียน;The investigation of dye adsorption by actived carbon prepared from durian peel

5. รายงานโครงการวิจัยเรื่องการพัฒนาถ่านกัมมันต์จากเปลือกทุเรียน ;Developing of activated carbon derived from durian peels

6. การพัฒนาสารโพลี่แซคคาไรด์จากเปลือกของผลทุเรียน เพื่อใช้ทางการเภสัชกรรม : รายงานการวิจัย;The development of polysaccharides from hulls of durian fruit for pharmaceutical uses

7. การศึกษาความปลอดภัยและความเป็นพิษของการบริโภค สารสกัดคล้ายเพคตินจากเปลือกทุเรียน : รายงานวิจัย;Studies on safety and toxicity of the consumption of pectin-like substance isolated from durian rind;ความปลอดภัยและความเป็นพิษของการบริโภคสารคล้ายเพคตินสกัด

8. การศึกษาสารคาร์โบไฮเดรตจากเปลือกทุเรียนในการเตรียมผลิตภัณฑ์ยาน้ำและผลิตภัณฑ์อาหาร;Carbohydrate substance from durian rind for pharmaceutical liquid preparations and food products;Pharmaceutical liquid preparations and food products;The studies of carbohyd

9. ความปลอดภัยของการบริโภคสารสกัดเปลือกทุเรียน และการทำสารให้บริสุทธิ์ : รายงานผลการวิจัย;Consumption safety of durian-rind extracts and purification

10. ศึกษาสารสกัดโพลีแซคคาไรด์จากเปลือกของผลทุเรียนเพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์;Studies of polysaccharide extracts form durian fruit-hulls for medicinal uses

11. การศึกษาสารสกัดคาร์โบฮัยเดรตจากเปลือกทุเรียนเพื่อใช้เป็นสารแขวนตะกอน;Studies on carbohydrate extracts of durian rind as suspending agent

12. การศึกษาผลต่อการดูดซึมสารอาหารไขมันของสารโพลีแซคคาไรด์จากเปลือกผลทุเรียนในหลอดทดลอง;In vitro study of the effect of polysaccharide from fruit-hulls of durian on lipid absorption

13. รายงานการวิจัยเรื่องการชักนำให้เกิดแคลลัสต้นใหม่และการถ่ายโอนยีนสู่ทุเรียนพันธุ์ชะนี ;การชักนำให้เกิดแคลลัสต้นใหม่และการถ่ายโอนยีนสู่ทุเรียนพันธุ์ชะนี;Callus induction, regeneration and transformation

14. รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค้าเพิ่มจากทุเรียนอุตรดิตถ์

15. รายงานผลการศึกษา การผลิตและการตลาดทุเรียนของเกษตรกรในภาคใต้

16. รายงานการวิจัยเรื่องศึกษาคุณสมบัติในการเป็นสารยึดเกาะ และสารช่วยแตกกระจายตัวของแป้งจากเดือย เผือก มันเทศและเมล็ดทุเรียน;Study on binder and disintegrant properties of starchs prepared from job’ s tears, taro, sweet potato and Durian seed

17. รายงานการวิจัยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทุเรียนน้ำพร้อมดื่มบรรจุกระป๋อง ;Development of canned ready to drink soursop juice

18. การศึกษาจุลินทรีย์จากเปลือกผลไม้ทุเรียนและมังคุดที่มีศักยภาพในการสร้างสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ;The study of durian-peeled and mangosteen-peeled microorganisms producing bioactive compounds

19. การใช้ดินขาวผสม กากมะพร้าว เส้นใยจากต้นข้าวโพดและเส้นใยจากเปลือกทุเรียนเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันความร้อนและลดน้ำหนักในผนังคอนกรีตบล็อก;The Application of kaolin with coconut meal, plywood from corncobs and durian peel in concrete masonry unit wall for in

20. การใช้กากมะพร้าว ต้นข้าวโพดและเปลือกทุเรียนเป็นวัสดุประกอบชีวภาพทดแทนไม้ในแผ่นใยอัดความหนาแน่นปานกลาง;The Application of coconut meal, corncobs and durian peel as wood-substituted biocomposites in medium density fiberboard

21. โครงงานวิจัยทางเคมีการพัฒนาวิธีการผลิตเอทานอลจากเปลือกสับปะรด เปลือกทุเรียนและเปลือกกล้วย;Development of Method in Producing Ethanol from fibers Surrounding the pulp of the Pineapple Durian and Banana

22. สมบัติของแป้งจากเมล็ดทุเรียนและการนำไปใช้ประโยชน์

23. ผลทางชีวภาพของสารสกัดหยาบทุเรียนเทศต่อเซลล์มะเร็ง แบคทีเรียก่อโรคและลูกน้ำยุงลาย;Biological effects of Thurian-thet (Annona muricata L.) crude extracts on cancer cell lines, Pathogenic bacteria and Aedes aegypti larvae.

24. ความหลากหลายของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในดิน เพื่อเป็นตัวชี้วัดทางชีวภาพ (Bio-indicator) ของพื้นที่สวนทุเรียน อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์;Biodiversity of soil invertebrates as a bio-indicator for durian farm in Laplae District, Uttaradit Province

25. อิทธิพลของพืชคลุมดินเพื่อปรับปรุงและลดการตกค้างของโลหะหนักในดินของพื้นที่สวนทุเรียน อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์;Influences of cover crop on soil improvement and reduction on heavy metals in soil for durian farm in Lablae District, Uttaradit

26. ความหลากหลายของเชื้อราในดินและการประยุกต์ใช้ประโยชน์ในสวนทุเรียน อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์;Diversity of soil fungi and their application in durian plantation in Lablae District, Uttaradit Province

27. การใช้ชีววิธีในการควบคุมเชื้อราก่อโรครากเน่า Phytophthora palmivora โดยการใช้เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ ในพื้นที่สวนทุเรียน เขตอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์;Biological control of plant pathogen phytophthora palmivora by using antifungal microorganism in durian

28. การศึกษาความเสื่อมโทรมของที่ดินโดยใช้อินทรียวัตถุในดิน และดุลยภาพของธาตุอาหารเป็นตัวชี้วัด : การปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดินบริเวณสวนทุเรียน เขตอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์;Land degradation investigations employing soil organic matter and nutrient balance

29. การหมักเปลือกทุเรียนแบบกึ่งแห้งเพื่อผลิตไบโอเอทานอล;A semi-solid state fermentatiom of bioethanol using durian fruit – hull as nutrien source

30. การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของทุเรียนกวนโดยการกวนด้วยเครื่องกวนผลไม้สุญญากาศ;The optimization of Durian paste by vacuum paste machine.

31. การศึกษาคุณสมบัติเชิงกลของวัสดุผสมระหว่างเส้นใยจากเปลืกทุเรียนกับน้ำยางพารา;Study on mechanical properties of composite materials between Durian Shell Fiber and Rubber Nature.

32. การวิเคราะห์ต้นทุนผลตอบแทนผลิตภัณฑ์ OTOP : กรณีศึกษา ทุเรียนทอดกรอบในจังหวัดจันทบุรี;The analysis of cost and return in OTOP : a case study study chop durian in Chantaburi province

33. การพัฒนาแป้งปั้นจากเปลือกทุเรียนสำหรับผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก;Formula Development of Durian Peel Paste for Souvenir Products

34. การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ของขวัญของที่ระลึกจากแป้งเปลือกทุเรียน;Developing Styles of Products for Gifts and Souvenirs Made from Durian Covering Flour

35. การแปรรูปเปลือกทุเรียนเป็นกระถางชีวภาพ;Processing of durian peel for a bio-pot

36. การศึกษาคุณสมบัติเชิงกลของวัสดุผสมระหว่างเส้นใยจากเปลืกทุเรียนกับน้ำยางพารา;Study on mechanical properties of composite materials between durian shell fiber and rubber nature

37. การแปรรูปเปลือกทุเรียนเป็นวัสดุเชื้อเพลิง : \b การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะ คุณภาพ ต้นทุนการผลิตและความคิดเห็นของผู้ใช้ถ่านที่ผลิตจากเปลือกทุเรียนและเปลือกทุเรียนผสมผงถ่านและขี้เลื่อยในอัตราส่วน 0, 20, 40, และ 60 เปอร์เซ็นต์;Durian shell as power sources : t

38. ระบบสารสนเทศ การติดตามและการประเมินผลจากการพัฒนาองค์ความรู้และการใช้ประโยชน์ที่ดินการเกษตรในพื้นที่สวนทุเรียน อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์;Information monitoring and evaluation for development knowledge and land use in durian farm in Laplae district, Uttaradit pro

39. ลักษณะและการพัฒนาพันธุ์ทุเรียนจังหวัดอุตรดิตถ์;Characteristics and development of Durian (Durio zibethinus Murray) in Uttaradit province

40. ทุเรียนป่าละอูกับต้นทุนและทิศทางสำหรับการพัฒนาเพื่อการส่งออก

41. การศึกษาความสัมพันธ์เชิงวิวัฒน์การระดับโมเลกุลของทุเรียนในเขตพื้นที่จังหวัดนนทบุรี;The Study of Molecular phylogenetic relationships of in Nonthaburi province

42. การผสมพันธุ์ทุเรียนข้ามชนิดในระบบวนเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ์;Interspecific hybridization of Durian in Uttaradit agro-forest system

43. การจำแนกสายพันธุ์ทุเรียนหลงลับแลและหลินลับแลในระบบวนเกษตรด้วยวิธีไอโอไซม์;Identification of Long Lab-lae and Lin Lab-lae Durian by Isozyme pattern

44. การจำแนกทุเรียนสายพันธุ์ท้องถิ่นในจังหวัดนนทบุรีโดยเทคนิคอาร์เอพีดี;Classification of Durian cultivars in Nonthaburi province by RAPD technique

45. การใช้สารสกัดจากดอกเล็บมือนางเพื่อยืดอายุการเก็บของทุเรียนทอดกรอบ;Application of Quisqualis indica Linn. Extract for Extending the Shelf-life of Crispy Durian Chips

46. การผลิตฟิล์มบริโภคได้จากสารโพลีแซคคาไรด์ที่สกัดจากเปลือกทุเรียน;Production of Edible Film from Polysaccharide Extract from Durian Hulls

47. การบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทานทุเรียนหลายวัตถุประสงค์ : กรณีศึกษาจังหวัดจันทบุรี;Management logistics and supply chain durian multi-objective : a case study Chanthaburi province

48. การผลิตฟิล์มบริโภคได้จากสารโพลีแซคคาไรด์ที่สกัดจากเปลือกทุเรียน;Production of Edible Film from Polysaccharide Extract from Durian Hulls

49. การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากแป้งเมล็ดทุเรียน;Research and development of food product from flour of Durian seeds

50. การพัฒนาระบบตลาดธุรกิจชุมชนโดยใช้ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งเสริมการจำหน่ายทุเรียนหลงลับแลของตำบลแม่พูล อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์;The development of market system community enterprise by using electronic commerce system to support sales promotion

51. การพัฒนาศักยภาพเนื้อทุเรียนสุกในการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร;Developing the potential of durian meat fall grade in food products

52. การพัฒนาศักยภาพเปลือกทุเรียนในผลิตภัณฑ์ขนมอบ;Developing the potential of durian peel in bakery products

53. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยเชิงการทดลองน้ำยาเคลือบขี้เถ้าเปลือกทุเรียนที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์เครื่องเคลือบดินเผาประเภทเนื้อดินสโตนแวร์อุณหภูมิ 1200 C และ 1230 C;Effects of Durian ash glazes on stoneware bodies product with temperature 1200-1230 C

54. การพัฒนาศักยภาพเมล็ดทุเรียนในผลิตภัณฑ์ขนมไทย;Developing the Potential of Durian seeds in Thai dessert products

55. ปัจจัยที่มีผลต่อการส่งออกทุเรียนสดของไทยไปยังประเทศจีน

56. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลศักยภาพเกษตรกรในกลไกตลาดทุเรียนหลงลับแลจังหวัดอุตรดิตถ์

57. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการทวนสอบย้อนกลับเพื่อการตัดสินใจในการวางแผนการควบคุมคุณภาพทุเรียนพันธุ์หลงลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยใช้ QR Code

58. การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพของราเอนโดไฟท์ที่แยกได้จากกิ่งและใบทุเรียน;Utilization of Endophytic Fungi isolated from Durian twigs and leaves

59. การประยุกต์ใช้ ยูเอวี ในการสำรวจเพื่อการจำแนกสายพันธุ์ทุเรียนและติดตามการเกิดโรคทางใบในทุเรียน พื้นที่ศึกษา สวนทุเรียนในจังหวัดจันทบุรี;The application of UAVs in the survey for classification varieties of Durian and Monitoring foliar Diseases in Durian:

60. การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานทุเรียน : กรณีศึกษาอำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทุบรี;An efficiency Increasing Logistics and Supply Chain Management of Durian : A Case Study Amphoe Tha Mai of Chanthaburi Province

61. ผลของแป้งจากเศษเหลือทิ้งของทุเรียนต่อคุณภาพของพาสต้าปราศจากกลูเตน;Effect of flour from durian waste on quality of gluten free pasta

62. ศึกษาวิธีการสกัดเพคตินจากเลือกทุเรียนโดยใช้การสกัดเบื้องต้นด้วยไมโครเวฟตามวิธีการสกัดโดยใช้ตัวทำลายเพื่อใช้เป็นวัสดุดูดซับโลหะหนักจากน้ำเสีย

63. การพัฒนาเครื่องกวนทุเรียนแบบผสมผสานเพื่อมาตรฐานผลิตภัณฑ์ทุเรียนกวน กลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้ลับแล

64. การเพิ่มความเข้มข้นมีเทนในก๊าซชีวภาพด้วยกระบวนการแอดซอบชันโดยใช้ถ่านกัมมันต์จากเปลือกทุเรียน

65. การใช้สารระเหยจากใบเตยในการดับกลิ่นทุเรียน = Using of volatile substances from pandan (Durio Zibethinus Murr) leaf to eliminate durian’s smell : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

66. การประเมินมูลค่าการบริการของระบบนิเวศสวนทุเรียนในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี โดยประยุกต์ข้อมูลดาวเทียมและภาพถ่ายทางอากาศจากหุ่นยนต์อากาศยานขนาดเล็ก

67. การพัฒนาแป้งเปลือกทุเรียนสาหรับผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มธัญพืช

68. การพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์เค้กด้วยแป้งเปลือกทุเรียน

69. การพัฒนาศักยภาพแป้งเปลือกทุเรียน

70. การพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ขนมไทยด้วยแป้งเปลือกทุเรียน

71. การสร้างช่องทางการตลาดและการสื่อสารการตลาดทุเรียนอินทรีย์ของชุมชนบ้านจำรุง อำเภอแกลง จังหวัดระยอง

72. การเตรียมวัสดุผสมย่อยสลายได้จากขวด PET รีไซเคิลและแป้งที่เสริมแรงด้วยไบโอชาร์จากเปลือกทุเรียน

73. แนวทางการลดต้นทุนห่วงโซ่อุปทานของผลไม้ไทย กรณีศึกษาทุเรียนในภาคตะวันออก

74. ผลของการใช้สารละลายเอทีฟอนในการเร่งสุกทุเรียนหมอนทอง

75. การสังเคราะห์กราฟีนออกไซด์จากถ่านชีวภาพเปลือกทุเรียนด้วยวิธีของฮัมเมอร์

76. การผลิตต้นกล้าทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อลดการติดเชื้อ Phytophthora palmivora โดยวิธีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ในโรงเรือนเพาะชาด้วยระบบควบคุมฟัซซี่

77. ความสามารถในการแข่งขันของไทยเมื่อเทียบกับประเทศมาเลเซียและการจัดการโซ่อุปทานการส่งออกทุเรียนแช่แข็งและทุเรียนฟรีซดรายไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน

78. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมปังขาไก่เสริมใยอาหารจากเปลือกทุเรียน

79. การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและการเกิดโรคของเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าและโคนเน่าของทุเรียนในประเทศไทย

80. การใช้สารระเหยจากใบเตยในการดับกลิ่นทุเรียน

81. สารที่ควบคุมการเกิดกลิ่นในทุเรียนพันธุ์หมอนทอง

82. แนวทางการจัดหาเงินทุนในห่วงโซ่คุณค่าของการผลิตทุเรียนในภาคตะวันออก

83. การศึกษาปริมาณความต้องการน้ำและวิธีการให้น้ำที่เหมาะสม สำหรับทุเรียนพันธุ์หมอนทอง

84. ระบบพยากรณ์ปริมาณผลผลิตทุเรียนพันธุ์หมอนทองบนพื้นฐานปัจจัยเด่นของข้อมูลทางสภาพภูมิอากาศ

85. นโยบายและกลไกการส่งเสริมการปลูกพืชสวน (ทุเรียน) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาครัฐในจังหวัดศรีสะเกษ

86. กระบวนการพัฒนาการปลูกพืชสวน ( ทุเรียน ) ของประชาชนในจังหวัดศรีสะเกษ

87. ทุเรียน กระบวนการพัฒนาพืชสวนและความมั่นคงทางอาชีพตามแนวพุทธ ของประชาชนในจังหวัดศรีสะเกษ

88. การส่งเสริมความมั่นคงทางอาชีพของกลุ่มผู้ปลูกพืช (ทุเรียน) ในจังหวัดศรีสะเกษตามแนวพุทธ

89. การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ทุเรียนภูเขาไฟพรีเมี่ยมศรีสะเกษ เพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ให้เกิดผลในการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทางการตลาด

90. การศึกษาการผลิตทุเรียนทอดกรอบ

91. การพัฒนาผลิตภัณฑ์แยมทุเรียนไร้น้ำตาลด้วยการใช้สารให้ความหวานทดแทน

92. การพยากรณ์ปริมาณผลผลิตทุเรียนโดยแบบจำลองปริมาณผลผลิตทุเรียน ในจังหวัดจันทบุรี

93. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การใช้สารสกัดคล้ายเพคตินจากเปลือกทุเรียนเป็นชั้นเมทริกซ์สำหรับแผ่นแปะผิวหนังนิโคติน

94. โครงการคุณสมบัติและการแสดงออกของยีน cell wall hydrolase ระหว่างการสุกของผลทุเรียน

95. ฤทธิ์ฆ่าแมลงของสารสกัดทุเรียนเทศ: ทางเลือกใหม่เพื่อการป้องกันกำจัดหนอนใยผักที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

96. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้การเพิ่มคุณภาพการผลิตทุเรียนพันธุ์หมอนทองของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองในเขตเทศบาลตำบลถ้ำใหญ่ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช

97. การพัฒนาระบบเฝ้าสังเกตการแทรกตัวของน้ำเค็มสำหรับพื้นที่ปลูกทุเรียน จังหวัดนนทบุรี

98. การศึกษาสารพิษตกค้างทางการเกษตรในดินสวนทุเรียน เพื่อเข้าสู่การปรับเปลี่ยนการผลิตแบบอินทรีย์

99. รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากทุเรียนอุตรดิตถ์

ที่มา : สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา

Recent Posts