จำนวน 35 เรื่อง
1. การชักนำให้เกิดพอลีพลอยด์ในบัวบกโดยใช้สารโคลชีซีน
2. อิทธิพลของธาตุอาหารพืชที่มีต่อผลผลิตของบัวบก
3. การศึกษาฤทธิ์ในการสมานแผลและผลต่อการเรียนรู้และความจำ ของสารสกัดมาตรฐานบัวบกในโมเดลของสัตว์ทดลอง
4. ความเป็นพิษเฉียบพลันและความเป็นพิษกึ่งเรื้อรัง ของสารสกัดมาตรฐานบัวบก
5. การทดสอบเบื้องต้นทางเภสัชวิทยาของสารสกัดบัวบกโดยใช้เซลล์เพาะเลี้ยง
6. การพัฒนาวิธีวิเคราะห์สารสำคัญในการออกฤทธิ์ของสมุนไพรบัวบก ในเภสัชผลิตภัณฑ์และเครื่องสำอาง
7. การพัฒนาสูตรตำรับยาเหน็บทวารหนักผสมสารสกัดบัวบก เพื่อใช้รักษาริดสีดวงทวารหนัก
8. การพัฒนาสูตรตำรับไมโครอิมัลชันของสารสกัดบัวบก เพื่อใช้สำหรับทาภายนอกเพื่อใช้ในการรักษาแผล
9. การพัฒนาสูตรตำรับ การประเมินทางอินวิโทร และการผลิตขั้นอุตสาหกรรม ของยาเม็ดเคลือบฟิล์มสารสกัดบัวบก
10. ผลของสารสกัดใบบัวบก ต่อการสร้างคอลลาเจน เอนไซม์ matrix metalloproteinase และการหายของแผลนอกกาย
11. การสกัด การแยก และการตรวจสอบเอกลักษณ์ของสารออกฤทธิ์จากสมุนไพรบัวบก
13. ผลของความดันสูงยิ่ง ต่อคุณภาพด้านกายภาพเคมี และจุลชีววิทยา ของน้ำใบบัวบก
14. คุณภาพทางกายภาพและเคมีของเครื่องดื่มบัวบกผงที่เตรียม โดยวิธีทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง
15. การศึกษาเพื่อกำหนดมาตรฐานของสมุนไพรบัวบก และสิ่งสารสกัดที่มีฤทธิ์ทางยา
16. การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องสำอาง ที่มีมาตรฐานจากสมุนไพรบัวบก สู่การผลิตระดับอุตสาหกรรม
17. การพัฒนาตำรับชาชงพร้อมดื่มเพื่อสุขภาพจากผลลำไย และบัวบก
18. ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพจากใบบัวบกที่ได้รับการคัดเลือกสายพันธุ์ เพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี
19. การพัฒนาตำรับแคปซูลจากผงบัวบก [Centella asiatica, Linn.] เพื่อต้านการอักเสบ
20. การใช้กากเหลือจากการสกัดน้ำบัวบกในการผลิตอาหารไก่เนื้อเพื่อทดแทนยาปฏิชีวนะ
21. การพาสเจอไรซ์น้ำใบบัวบก [Centella asiatica (Lin.) Urban] เพื่อเป็นอาหารเสริมสุขภาพด้วยเทคนิคทางไฟฟ้า
23. ผลของการเสริมบัวบกต่อคุณภาพของอาหารขบเคี้ยวที่ผลิตจากเครื่องเอ็กซ์ทรูเดอร์
24. การพัฒนาเครื่องการสกัดไกลโคไซด์จากบัวบกในระดับอุตสาหกรรมด้วยการจับก้อนด้วยไฟฟ้า
25. การวิจัยและพัฒนาชาบัวบกสำเร็จรูป
26. วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตบัวบก
27. ผลของสูตรอาหารในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต่อการต้านปฏิกิริยาออกซิเดชันของบัวบกและแว่นแก้ว
28. การผลิตสารต้านทานแบบโมโนโคลนอลแอนติบอดีต่อเอเชียติโคไซด์เพื่อการควบคุมคุณภาพบัวบก
30. การโคลนซีดีเอ็นเอ และการวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ของออกซิโดสควาลีนไซเคลส จากใบบัวบกและใบเปล้าน้อย
31. ผลของสารสกัดจากบัวบกที่มีต่อระบบหลอดเลือดและหัวใจ
32. ผลของกระบวนการแปรรูปต่อปริมาณและคุณสมบัติของสารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชันของผลิตภัณฑ์น้้าใบบัวบก
33. การศึกษาฤทธิ์สารสกัดของทองพันชั่งและบัวบกในการต้านเชื้อแบคทีเรียเพื่อพัฒนาสบู่
34. การสำรวจชนิดแมลงศัตรูบัวบกและการป้องกันกำจัด
35. การพัฒนาผลิตภัณฑ์แฮร์โทนิค (Hair Tonic) จากสารสกัดบัวบกเพื่อบำรุงเส้นผม
ที่มา : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ