สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา

จำนวน 15 เรื่อง

1. งานวิจัย การเปรียบเทียบคุณภาพของไวน์กล้วยหอม หมักโดยเชื้อยีสต์ 5 สายพันธุ์;Comparison of the quality of kiouyhom wine femented by five diffirent strains of yeast

2. การผลิตแป้งจากกล้วย;The Preparation of flour from bananas

3. รายงานโครงการวิจัยการตรวจหาฟลาโวนอยด์ในเปลือกกล้วยหอม (Musa sapientum Linn.Fam);structure determination of flavonoids from skins of musa sapientum lim. fam.

4. การศึกษาการทำไซรัปกล้วย;The study on extraction of banana syrup

5. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิธีการบางอย่างเพื่อช่วยเพิ่มผลผลิตของกล้วยหอม

6. รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาคุณสมบัติของสารสกัดโพลีแซกคาไรด์จากเปลือกกล้วยไข่ กล้วยน้ำว้า และกล้วยหอม;Study on the properties of Polysaccharide extracts from musa peels

7. ระบบตลาดสินค้าเกษตรจังหวัดเพชรบุรี ศึกษากรณี ต้นทุนการผลิตและอัตราผลตอบแทนตลาดกล้วยหอมทองอำเภอบ้านลาด

8. การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทอฟฟี่เค้กกล้วยหอมด้วยเนยสวนดุสิต;Research Development of Banana Toffee Cake from Suan Dusit Butter

9. การบังคับกล้วยหอม กล้วยไข่ และกล้วยน้ำว้าตกเครือบนลำต้น;Forcing three types of banana (Hom Khai Namwa) to produce bunch by drilling a hole on midsection

10. อิทธิพลของกล้วยทั้ง 3 ชนิดและวิธีการเตรียมที่มีผลต่อการผลิตโยเกิร์ต;Influence of the types and method of preparations banana affect the production of yogurt

11. รายงานการวิจัยผลของน้ำมะพร้าวและกล้วยหอมที่มีต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้สกุลหวาย (Dendrobium sp.);The Effect of Coconut water and Banana on In vitro Culture of Dendrobium sp

12. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์การยับยั้งเชื้อราก่อโรคขั้วหวีเน่า (crown rot) และ แอนแทรคโนส (anthracnose) ของสารสกัดจากขิง (Zingiber officinale) และข่า (Alpiniagalanga) ในกล้วยหอมแบบ in vitro และ in viov

13. การเร่งระยะเวลาการให้ผลผลิตกล้วยหอมทองส่งออกให้ออกผลเร็วขึ้น ในกรณี: การเตรียมต้นกล้าให้สมบูรณ์ในอายุที่แตกต่างกันก่อนการนําลงปลูกทดแทนAccelerated period to yield banana exports faster : case: preparation for the seedlings in different age prior to replan

14. การศึกษากระบวนการทำแห้งแบบลมร้อนที่มีผลต่อสมบัติด้านต่าง ๆ ในกล้วยหอมสุกและฟักทอง

15. การวิเคราะห์ปริมาณอินนูลินในกล้วยกลุ่ม diploid triploid และ tetraploid เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ

ที่มา : สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา

Recent Posts