โครงการเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย

201. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย เปรียบเทียบผลได้ของน้ำตาลรีดิวซ์ที่ผลิตจากกากมันสำปะหลัง ระหว่างการใช้กรดเจือจางและด่างในการปรับสภาพวัตถุ

202. การปลูกพืชสลับเพื่อมูลค่าในแปลงมันสำปะหลัง

203. ผลของการใช้สตาร์ชมันสำปะหลังพรีเจลาติไนซ์ต่อคุณภาพของข้าวเกรียบ

204. การประยุกต์ใช้แป้งมันสำปะหลัง 2 สายพันธุ์ เพื่อผลิตถุงเพาะชำพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ

205. การผลิต ต้นทุนและผลตอบแทน จากการปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกร บ้านโนนแต้ ตำบลลาดบัวขาว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา

206. การพัฒนากระบวนการผลิตข้าวไร่พันธุ์พื้นเมืองในเขตพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง จังหวัดนครราชสีมา

207. รายงานการวิจัย เรื่อง การใช้วัสดุปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม

208. การผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งจากเปลือกไม้ยูคาลิปตัสผสมกากน้ำมันสำปะหลัง

209. การออกแบบและประเมินผลเครื่องตัดและเก็บต้นพันธุ์มันสำปะหลังต่อพ่วง ด้านข้างกับรถแทรกเตอร์ขนาดกลาง

210. การศึกษาแรงตัดสามแนวแกนด้วยหลักการเพนดูลัมในการตัดมันสำปะหลัง

211. การคัดแยกเชื้อแบคทีเรียสร้างสปอร์ที่มีคุณสมบัติส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชและสามารถยับยั้งเชื้อก่อโรคใบไหม้ในมันสำปะหลัง

212. การสังเคราะห์ γ aminobutyric acid (GABA) ทางชีวภาพด้วยเชื้อจุลินทรีย์ ประสิทธิภาพสูง โดยการใช้มันสำปะหลัง (Manihot esculenta (L.) Crantz) เป็นวัตถุดิบตั้งต้น

213. เครื่องสับเหง้ามันสำปะหลังแบบใบมีดหมุนรูปทรงกระบอก

214. เครื่องสับมันสำปะหลังแนวนอนแบบใบมีดหมุน

215. เครื่องสับมันสำปะหลังแบบติดท้ายรถแทรคเตอร์ขนาดเล็ก

216. การประยุกต์ใช้วัสดุพรุนชนิดตาข่ายสแตนเลสเพื่อลดการสิ้นเปลืองพลังงานในการอบแห้งมันสำปะหลังด้วยลมร้อน

217. สัดส่วนของการใช้หัวมันสดหมักร่วมกับใบมันสำปะหลังในอาหารข้นต่อผลผลิตของแพะเนื้อและแพะนม

218. การพัฒนารูปแบบการพยากรณ์ที่เหมาะสมสำหรับการหักค่าสิ่งปลอมปนในกระบวนการรับซื้อหัวมันสำปะหลัง

219. การออกแบบและพัฒนาการอบแห้งมันสำปะหลังแบบพลังงานร่วม

220. การเพิ่มมูลค่าเหง้ามันสำปะหลัง : กรณีศึกษา สถานประกอบการ SME ช.เกษรพืชผล อ.โกสัมพีนคร จ.กำแพงเพชร

221. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง ผลของชนิดสารเชื่อมขวางต่อสมบัติไฮโดรเจลที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพของแป้งมันสำปะหลังกราฟด้วยพอลิอะครีลิค/ยางธรรมชาติ เพื่อเป็นวัสดุเคลือบปุ๋ยยูเรียปลดปล่อยช้า

222. รายงานการวิจัยการแยกกรดซัคซินิกควบคู่กับกระบวนการหมักโดยแป้งมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิเลคโตรไดอะไลซีส

223. รายงานการวิจัยการพัฒนาเมมเบรนซีโอไลต์เพื่อใช้ในการปรับปรุงคุณภาพของไบโอแก๊สที่ได้จากโรงงานแป้งมันสำปะหลัง

224. รายงานการวิจัยการวิเคราะห์การส่งผ่านราคาของมันสำปะหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกิจกรรมในห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของมันสำปะหลัง

225. การเตรียมฟิล์มคอมพอสิตทางชีวภาพของแป้งมันสําปะหลังเสริมแรงด้วยไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสจากเปลือกข้าวโพด

226. รายงานการวิจัยผลของการใช้กากมันสำปะหลังหมักยัสต์ในอาหารไก่ไข่ที่มีต่อสีไข่แดงผลผลิตไข่ และระบบสืบพันธุ์ของไก่ไข่

227. การใช้เบต้ากลูแคนและถั่วลันเตาบดเพื่อเป็นสารทดแทนไขมันในคุกกี้เนยที่ทำจากแป้งมันสำปะหลัง

228. การผลิตโปรตีนเซลล์เดียวจากกากมันสำปะหลังเพื่อทดแทนสารประกอบโปรตีนในอาหารแพะเนื้อ

229. การใช้กากมันสำปะหลังหมักยีสต์ในอาหารโคเนื้อต่อกระบวนการหมักในรูเมนและสมรรถนะการผลิต

230. การปรับปรุงสมบัติและการย่อยสลายทางชีวภาพของโฟมชีวภาพจากแป้งมันสำปะหลังด้วยน้ำยางพารา

231. รายงานการวิจัยผลของการใช้กากมันสำปะหลังหมักยัสต์ในอาหารไก่ไข่ที่มีต่อสีไข่แดงผลผลิตไข่ และระบบสืบพันธุ์ของไก่ไข่

232. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ แผนงานวิจัยระบบและกลไกการบริหารจัดการการวิจัย : การเพิ่มมูลค่ามันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาและนำแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ 3 มิติ

233. การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังแก่เกษตรกรในจังหวัดนครราชสีมา

234. รายงานการวิจัย โครงการย่อยที่ 3 การสกัดสารแทนนินจากใบมันสำปะหลัง

235. รายงานการวิจัย ประสิทธิภาพของการผลิตแก๊สชีวภาพโดยวิธีหมักร่วมระหว่างมูลสุกรกับมูลวัวโดยใช้มันสำปะหลังและฟางข้าวเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา

236. รายงานการวิจัย วิเคราะห์เศรษฐกิจการผลิต และการตลาดมันสำปะหลังในจังหวัดนครราชสีมาเพื่อรองรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

237. ถ่านกัมมันต์จากเหง้ามันสำปะหลัง เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ดูดซับกลิ่น

238. การปรับสภาพเชื้อยีสต์ Saccharomyces cerevisiae SC90 ให้ทนต่อสารยับยั้งที่เกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการย่อยกากมันสำปะหลังเพื่อผลิตเอทานอลชีวภาพ : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์

239. ผลของการใช้เครื่องดื่มชูกำลังผสมกะปิต่อการเจริญเติบโตของรากมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5

240. การเตรียมสมบัติและการทดสอบการย่อยสลายทางชีวภาพของโฟมชีวภาพจากแป้งข้าวเหนียว แป้งมันสำปะหลัง และแป้งข้าวโพด

ที่มา : สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา

Recent Posts