สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

จำนวน 133 เรื่อง

1. การตรวจสอบการมีชีวิตรอดของกล้าเชื้อ Lactococcus lactis subsp. Lactis P2 และ Sb, Lactobacillus salivarius D 4 และ Pediococcus pentosaceus TISTR 536 ในแหนมเนื้อโค

2. การศึกษาเปรียบเทียบการใช้ยางมะละกอและน้ำสับปะรดในการปรับปรุงคุณภาพของเนื้อโค

3. การใช้เปลือกผลเสาวรส เป็นอาหารเสริมโคเนื้อ

4. การศึกษาลักษณะและอัตราการเจริญเติบโตของลูกโคผสมโคนม-โคเนื้อ โดยใช้เปลือกสับปะรดเป็นอาหารหยาบ

5. การใช้กากถั่วเหลืองและปลาป่นเป็นแหล่งโปรตีนในอาหารโคเนื้อ

6. การศึกษาความเป็นไปได้โครงการเลี้ยงโคเนื้อขุนของสหกรณ์ปศุสัตว์ศรีสะเกษ จำกัด

7. การศึกษาปัญหาพื้นฐานการเลี้ยงโคเนื้อในหมู่บ้าน

8. เทคโนโลยีชีวภาพในการเพิ่มอัตราการเจริญเติบโต คุณภาพเนื้อและประสิทธิภาพในการสืบพันธุ์ของโคเนื้อในเขตร้อนชื้น

9. การใช้น้ำยางมะละกอปรับปรุงคุณภาพเนื้อโคเพื่อการผลิตเนื้อโคขึ้นรูป

10. การลดขั้นตอนกระบวนการจัดการเนื้อสัตว์จากการชำแหละซากอุ่นร่วมกับการบ่มเนื้อเพื่อปรับปรุงคุณภาพเนื้อโคขุน

11. การศึกษาความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคนิค สำหรับการเลี้ยงโคเนื้อและโคนม ในจังหวัดนครศรีธรรมราช

12. โครงการสร้างฐานข้อมูลด้านพันธุกรรมของโคเนื้อและโคนม

13. การใช้กากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมันชนิดหีบ และใช้สารเคมีสกัดเป็นอาหารโคเนื้อ

14. การศึกษาผลผลิตของหญ้ากินนีสีม่วงและโคเนื้อในระบบเกษตรผสมผสาน

15. การจัดการเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตพืชอาหารสัตว์เพื่อการพัฒนาการเลี้ยงโคเนื้อและโคนมบนพื้นที่ดอนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

16. การใช้กากเนื้อในเมล็ดปาล์มชนิดอัดน้ำมันเป็นอาหารโคเนื้อ ในระยะต้นและระยะปลายของการขุน

17. การเปรียบเทียบภูมิคุ้มกันที่เกิดจากวัคซีนเตรียมจากเนื้อเยื้อชนิดต่างๆ ของเห็บ กับ infestations ตามธรรมชาติที่เกิดจากเห็บ Boophilus microplus ในโค

18. การถ่ายทอดงานวิจัยเรื่องการผลิตโคเนื้อพันธุ์กำแพงแสนสู่ประชาชน

19. การศึกษาความเป็นไปได้ ของโครงการขยายการผลิตเนื้อโคขุนคุณภาพของบริษัท นอร์ทเทิร์นฟาร์ม (1996) จำกัด

20. ผลของภาชนะบรรจุ อายุการเก็บรักษา ต่อคุณภาพเนื้อ ลักษณะปรากฎและยอมรับของผู้บริโภคเนื้อโค กระบือ

21. ผลตกค้างของสารซินโนเวคเอสและโมเนนซินในการขุนโคเนื้อ

22. การพัฒนาฐานข้อมูลการผลิตโคเนื้อระดับชุมชน ในตำบลป่าสัก อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

23. การใช้รูเมนซินแคปซูลในแม่โคเนื้อหลังคลอด

24. เทคนิค Double Gel Diffusion สำหรับใช้พิสูจน์เนื้อสุกรและเนื้อโคปลอมปน

25. สถานภาพการผลิตและการตลาดเนื้อโคของประเทศไทย

26. คุณภาพเนื้อโคภายใต้ระบบการผลิตและการตลาดของประเทศไทย

27. คุณภาพเนื้อโคพันธุ์กำแพงแสน

28. ระบบการผลิตและโอกาสทางการตลาดของการผลิตเนื้อโคพื้นเมืองในเขตจังหวัดภาคเหนือ [ลำพูน-ลำปาง]

29. โครงการระบบการผลิตและโอกาสทางการตลาดของการผลิตเนื้อโคพื้นเมือง ในเขตจังหวัดภาคเหนือ (ลำพูน-ลำปาง)

30. การพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการฟาร์มโคเนื้อ สำหรับวิทยาฟาร์ม จังหวัดลำพูน

31. การผลิตเนื้อโคพื้นเมืองกรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานีและยโสธร

32. ระบบการผลิตและโอกาสทางการตลาดในการผลิตเนื้อโคพื้นเมืองในเขตจังหวัดภาคเหนือ [เชียงใหม่-แพร่]

33. คุณภาพเนื้อของโคที่เลี้ยงด้วยเปลือกสับปะรดเป็นอาหารหยาบ

34. ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการฟาร์มโคเนื้อ

35. อาหารไทยจากเนื้อโคไทย

36. การตลาดเนื้อโคและผลิตภัณฑ์จากเนื้อโค : พฤติกรรมผู้บริโภคเนื้อโคและผลิตภัณฑ์จากเนื้อโค

37. ผลของกรดแลคติกและสาร Pediocin PA-1 จาก Pediococcus pentosaceus TISTR 536 ต่อการลดจำนวนเชื้อซัลโมเนลลาในเนื้อโคชำแหละจำหน่ายปลีก

38. การเพิ่มปริมาณ CLA [conjugated linoleic acid] ในเนื้อโคขุน โดยการเสริมน้ำมันถั่วเหลืองหรือเมล็ดฝ้ายในอาหารข้นสำหรับโคขุน

39. การถ่ายทอดงานวิจัยเรื่อง การผลิตโคเนื้อพันธุ์กำแพงแสนสู่ประชาชน

40. การศึกษาระบบลอจิสติกส์และการจัดการโซ่อุปทานของโคเนื้อในประเทศไทย

41. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลี้ยงโคเนื้อ ในตำบลสันทราย อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่

42. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชอาหารสัตว์ โดยวิธีการหมักของเกษตรกรเลี้ยงโคเนื้อ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

43. วิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างตารางมาตรฐานคุณค่าทางโภชนะ และความต้องการโภชนะโปรตีนและพลังงานในโคเนื้อ-โคนมไทย

44. การวิเคราะห์คุณค่าทางด้านโภชนาการ และสุขภาพของเนื้อโคไทย

45. การพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์พื้นบ้านจากเนื้อโค

46. การวิเคราะห์หาปริมาณออกซีเตตร้าซัยคลิน ที่ตกค้างในผลิตภัณฑ์นมและเนื้อสัตว์ โดยเทคนิคโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง

47. ระบบการผลิตเนื้อโคพื้นเมืองในเขตภาคตะวันตกของประเทศไทย

48. การใช้วัตถุดิบเยื่อใยสูงและใบไม้เป็นแหล่งเยื่อใย ในอาหารผสมสำเร็จรูปสำหรับโคเนื้อ

49. การวิจัยการผลิตเนื้อโคธรรมชาติ

50. สถานภาพการผลิตโคเนื้อและเนื้อโคของจังหวัดสุราษฎร์ธานี

51. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโคเนื้อ และผลิตภัณฑ์

52. ระบบการผลิตและการตลาดโคเนื้อ จังหวัดตาก

53. การผลิตตัวอ่อนโคเนื้อพันธุ์บราห์มันภายนอกร่างกายโดยเทคนิคการเจาะดูดไข่จากแม่โค

54. อัตราการเลี้ยงโคเนื้อต่อพื้นที่ที่เหมาะสมแบบการเกษตรอินทรีย์ร่วมกับการใช้น้ำส้มควันไม้ผลพลอยได้จากการจัดการการผลิตทางการเกษตรค่อการควบคุมสุขภาพโคเนื้อ

55. ต้นแบบระบบประกันคุณภาพเนื้อโคไทยธรรมชาติครบวงจร

56. การใช้กรดแลกติกร่วมกับการบ่มเนื้อที่มีต่ออายุการเก็บรักษาและคุณภาพเนื้อโค

57. การศึกษาการใช้สิ่งเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมผลิตกรดซิตริก เพื่อใช้เป็นอาหารผสมสำเร็จเพื่อใช้เป็นอาหารโคเนื้อ

58. ระบบการผลิตเนื้อโคพื้นเมืองภาคใต้และโอกาสทางการตลาด กรณีศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราชและสุราษฎร์ธานี

59. การศึกษาความเป็นไปได้ของตลาดเนื้อโคอินทรีย์ ตามวิถีการเลี้ยงโคพื้นเมืองแบบดั้งเดิม

60. การปรับแต่งสิ่งเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมผลิตกรดซิตริกด้วยโซเดียมไบคาร์บอเนตเพื่อเป็นแหล่งอาคารโคเนื้อ

61. การศึกษาห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) โคเนื้อในจังหวัดชุมพร และประจวบคีรีขันธ์

62. การศึกษากระบวนการฆ่าชาแหละโคเนื้อและการใช้ประโยชน์จากเนื้อ โคในจังหวัดนครศรีธรรมราช

63. โครงการวิจัยสถานภาพการผลิตโคเนื้อและเนื้อโค ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี

64. การใช้กากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งพลังงานทดแทนข้าวโพดบดในอาหารโคพื้นเมืองภาคใต้

65. ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพซากและผลตอบแทนการผลิตเนื้อโคคุณภาพสูงจากโคขุนลูกผสมซาโรเลส์

66. ผลของวิธีการบ่มเนื้อร่วมกับการใช้สารละลายกรดแลกติกต่อคุณภาพ และความปลอดภัยของเนื้อโค

67. การผลิตโคเนื้อพื้นเมืองบนพื้นที่สูงของจังหวัดน่าน

68. การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตเนื้อโคขุนจากลูกโคนมเพศผู้ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช

69. การใช้ประโยชน์จากชื้นส่วนของเนื้อโคพื้นเมืองในการประกอบอาหารสมัยนิยม

70. การทวนสอบความปลอดภัยของเนื้อโคธรรมชาติของโรงฆ่าโคกำแพงแสน

71. ระบบการผลิต และการตลาดโคเนื้อตามแนวชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยสู่ประเทศลาว

72. วิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างตารางมาตรฐานคุณค่าทางโภชนาการ และค่าความต้องการโภชนะพลังงานในโคเนื้อสายเลือดไทย

73. การวิจัยและพัฒนาระบบการเลี้ยงและการตลาดโคเนื้อในจังหวัดนครศรีธรรมราช

74. การพัฒนาต้นแบบระบบสืบย้อนกลับเนื้อโคไทย

75. พัฒนาการเลี้ยงโคเนื้อในสวนปาล์มน้ำมันเพื่อความยั่งยืนในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

76. การพัฒนาต้นแบบการจัดการเนื้อโคธรรมชาติสู่ผู้บริโภค กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี

77. การทวนสอบความปลอดภัยของเนื้อโคธรรมชาติในโรงฆ่าโคมาตรฐานจังหวัดมหาสารคาม

78. การใช้เอนไซม์ร่วมกับสิ่งเหลือทิ้งเพื่อเป็นองค์ประกอบในสูตรอาหารผสมในโคเนื้อ

79. การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากกากมันสำปะหลังเพื่อเป็นแหล่งโปรตีน “คาซาเรีย” ในอาหารโคเนื้อและโคนม

80. การพัฒนาระบบการเลี้ยงโคเนื้อในจังหวัดนครศรีธรรมราช

81. การวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจเนื้อโคภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย

82. วิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างตารางมาตรฐานค่าความต้องการโภชนะโปรตีนและพลังงานในโคเนื้อสายเลือดไทย

83. การศึกษาการผลิตเนื้อโคไทยที่เลี้ยงด้วยหญ้าแพงโกล่าในโคพื้นเมืองและลูกผสมพื้นเมือง-บราห์มันในจังหวัดชัยนาท

84. การพัฒนาต้นแบบห่วงโซ่อุปทานเนื้อโคธรรมชาติอุบลราชธานี

85. การพัฒนาโคเนื้ออินทรีย์ในภาคกลางของประเทศไทย

86. ต้นทุนและผลตอบแทนจากการเลี้ยงโคเนื้อ ของดวงแก้วฟาร์ม

87. ความต้องการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อของเกษตรกรในจังหวัดลพบุรี : กรณีศึกษาในท้องที่อำเภอพัฒนานิคม โคกสำโรง และชัยบาดาล

88. การพัฒนาซอฟต์แวร์ประมวลภาพเพื่อการจัดเกรดคุณภาพเนื้อโค

89. การพัฒนารูปแบบการตลาดเนื้อโคและผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม : กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่

90. การวิจัยทดสอบระบบและต้นแบบการจัดการเนื้อโคธรรมชาติสู่ผู้บริโภค

91. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของเนื้อโคไทย

92. การพัฒนาธุรกิจปลายน้ำจากเนื้อโคพื้นเมืองแปรรูป

93. การศึกษาการเพิ่มคุณค่ากากมันสำปะหลังหมักยีสต์-มาเลทและใบมัน สำปะหลังเป็นแหล่งโปรตีนทดแทนกากถั่วเหลืองในอาหารข้นที่มีมันเส้นเป็น องค์ประกอบระดับสูงต่อกระบวนการหมักในกระเพาะรูเมนและประสิทธิภาพ การสังเคราะห์จุลินทรีย์โปรตีนในโคเนื้อ

94. การคัดเลือกแบคทีเรียย่อยเยื่อใยที่มีศักยภาพสูงจากกระเพาะรูเมนของโคเนื้อและกระบือเพื่อใช้เป็นโปรไบโอติกในสัตว์เคี้ยวเอื้อง

95. โครงการการวิจัยตลาดและส่งเสริมตลาดเนื้อโค และผลิตภัณฑ์เนื้อโคธรรมชาติ

96. การพัฒนาอาหารเสริมในการเลี้ยงโคเนื้อโดยใช้พืชตระกูลถั่วท้องถิ่น

97. การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานของเนื้อโคไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

98. ความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของเส้นใยกล้ามเนื้อ เอนไซม์ calpains และ คุณภาพเนื้อโคพื้นเมืองไทย

99. การศึกษากลุ่มโปรตีนของเส้นใยกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับลักษณะความนุ่มของเนื้อโคพื้นเมือง

100. การศึกษาพฤติกรรมและอุปสงค์เนื้อโคและผลิตภัณฑ์เนื้อโคของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่

Recent Posts