สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

จำนวน 58 เรื่อง

1. การผลิตพลังงานทดแทนและผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าจากกระบวนการหมักย่อยร่วมระหว่างกลีเซอรอลเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตไบโอดีเซลร่วมกับเซลล์สาหร่าย

2. การถอดรหัสกลไกเชิงโมเลกุลรวมถึงบทบาทของการส่งสัญญาณด้วยอนุมูลอิสระในกระบวนการปรับตัวต่อความร้อนในสาหร่ายต้นแบบ Chlamydomonas reinhardtii

3. สายวิวัฒนาการเชิงภูมิศาสตร์ ความหลากหลายทางพันธุกรรมและโครงสร้างประชากรของสาหร่ายทะเลสีแดง Gracilaria salicornia ตามแนวชายฝั่งทะเลของประเทศไทย โดยอ้างอิงจากดีเอ็นเอในนิวเคลียสและออร์แกเนลล์ เพื่อนำไปสู่ข้อเสนอแนะเพื่อการอนุรั

4. การศึกษาหน้าที่ของโปรตีนที่คาดว่าจะทำหน้าที่เป็นไตรเอซิลกลีเซอรัลไลเปสในสาหร่าย Chlamydomonas reinhardtii

5. การศึกษาวงจรชีวิตจุลสาหร่าย Haematococcus pluvialis โดยการผนวกรวมการทดลองและแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อมุ่งไปสู่การเพื่อผลผลิต astaxanthin จากการหาค่าที่เหมาะสมที่สุดบนพื้นฐานจากแบบจำลอง

6. การปรับสภาพชีวมวลสาหร่ายด้วยกระบวนการไฮโดรไลซิสเพื่อสกัดผลิตภัณฑ์ ชีวภาพมูลค่าสูงและปรับปรุงคุณภาพน้ำมันชีวภาพ

7. ความสัมพันธ์เชิงประชากรของสองสายพันธุ์ย่อยของสาหร่าย Padina boryana Thivy ในบริเวณอ่าวไทย

8. การศึกษาโครงสร้างประชากรของสาหร่ายทุ่นสีน้ำตาลชนิด Sargassum plagiophyllum ทางตอนใต้ของประเทศไทย, ศักยภาพจากฐานทรัพยากรชีวภาพ

9. ชีวภูมิศาสตร์ของสาหร่ายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

10. การทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในกุ้งและในคนของสารสกัดเอทานอลจากสาหร่ายผมนาง (Gracilaria fisheri): กลไกการต้านแบคทีเรียและบ่งชี้สารออกฤทธิ์

11. การใช้สารสกัดจากสาหร่ายน้ำจืดทางภาคเหนือเป็นสารต้านออกซิเดชันทางเลือกในกระบวนการผลิตโปรตีนไฮโดรไลเสตคุณภาพสูง

12. ไบโอชิปสาหร่ายขนาดเล็กสำหรับการตรวจโลหะหนัก

13. การสื่อสารคุณค่าของงานความรู้เพื่อการพัฒนาพื้นที่ (RU) : การใช้สื่อเพื่อการพัฒนาชุมชนตำบลเกาะสาหร่าย จังหวัดสตูล

14. การผันแปรทางพื้นที่และฤดูกาลต่อรูปแบบการเปลี่ยนแปลงแทนที่ขั้นต้นของสาหร่ายทะเลในเขตน้ำขึ้นน้ำลง: ศึกษาผลของสัตว์กินพืชและปริมาณสารอาหารที่เพิ่มขึ้น

15. ระบบเฝ้าระวังและทำนายการเจริญเติบโตของสาหร่ายเพื่อการผลิตน้ำประปา

16. การเพิ่มการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพของจุลสาหร่าย Neochloris oleoabundans โดยวิธีพันธุวิศวกรรม

17. การศึกษาการควบคุมการแสดงออกของยีนและบทบาทการทำงานของโปรตีนแชเปอโรนิน 60 ภายใต้เครียดจากสภาพแวดล้อมในโมเดลสาหร่ายสีเขียวเซลล์เดียว Chlamydomonas reinhardtii

18. โครงการวิจัยขนาดเล็กเรื่องยางพารา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

19. การคัดแยกพันธุ์กลายไร้แป้งของสาหร่าย Dunaliella tertiolecta เพื่อเพิ่มการผลิตไบโอดีเซล

20. การพัฒนารูปแบบการจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่ง เพื่อการพึ่งตนเองของชาวประมงพื้นบ้านใน ต.เกาะสาหร่าย อ.เมือง จ.สตูล

21. การพัฒนาวิธีการในการคัดแยกสายพันธุ์สาหร่ายน้ำมันอย่างรวดเร็ว สำหรับการผลิต ไบโอดีเซล

22. ผลิตภัณฑ์ฟิล์มพอลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำต้านทานการเจริญของสาหร่ายและผลการบ่มเร่ง

23. กลไกการต้านการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำของสารซัลเฟตกาแลคแตนที่สกัดจากสาหร่ายผมนาง และการพัฒนาซัลเฟตกาแลคแตนผสมเป็นอาหารเม็ด

24. ผลการออกฤทธิ์ของสารสกัดสาหร่ายไก (Cladophora glomerata) ต่อการทำงานของโปรตีนขนส่งสารอินทรีย์ประจุลบและบวกในท่อไตในหนูที่ถูกเหนี่ยวนำด้วยอาหารไขมันสูงให้มีภาวะเบาหวานชนิดที่ 2

25. การคัดแยกไซยาโนแบคทีเรียและจุลสาหร่ายสายพันธุ์ธรรมชาติที่ผลิตพลาสติกชีวภาพปริมาณสูง

26. การศึกษาบทบาทของไฟโตคีเลตินในการลดพิษจากแคดเมียมในสาหร่าย Chlamydomonas reinhardtii

27. การพัฒนาอาหารเสริมจากสาหร่ายไส้ไก่ในการเลี้ยงปลานิล

28. การผลิตกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูงชนิด DHA ในมอส Physcomitrella patens โดยยีนที่ควบคุมเอนไซม์ 4-desaturase จากสาหร่ายทะเล Isochrysis galbana CCMP1312

29. การ screen หา mutant และศึกษาโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการแสดงออกของยีนที่ระดับ epigenetic ในสาหร่ายเซลล์เดียว Chlamydomonas reinhardtii

30. ผลของฝายชะลอน้ำต่อความหลากหลายของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่สาหร่ายและพืชพรรณริมฝั่งน้ำ ปีที่สอง

31. การคัดแยกและการเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็กที่มีน้ำมันสูงในน้ำทิ้งโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อการบำบัดน้ำทิ้งและการผลิตไบโอดีเซล

32. การใช้สารสกัดจากสาหร่ายผมนางในการต้านการติดเชื้อแบคทีเรีย การติดเชื้อไวรัส และการเพิ่มภูมิคุ้มกันในกุ้ง

33. เปรียบเทียบการดูดซึม/ซับทางชีวภาพของบิสฟีนอลเอโดยใช้สาหร่าย พืชและวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

34. ผลของฝายชะลอน้ำต่อความหลากหลายของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่สาหร่ายและพืชพรรณริมฝั่งน้ำ

35. การเพาะเลี้ยงสาหร่ายไส้ไก่ Ulva (Enteromorpha) intestinalis

36. ศักยภาพการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันที่ได้จากสาหร่าย

37. การเพาะเลี้ยงสาหร่ายสีเขียวสกุล Cladophora (ไก) เพื่อเป็นอาหารปลาบึกระยะที่ 2

38. การศึกษาการสร้าง C22 polyunsaturated fatty acids (PUFAs) ในมอส Physcomitrella patens โดยยีนที่ควบคุมเอนไซม์ 5-elongase จากสาหร่าย Pavlova sp.

39. ศักยภาพและความเป็นไปได้ในการใช้เซลล์สาหร่ายไซยาโนแบคทีเรียที่มีชีวิตในการกำจัดตะกั่วจากน้ำเสีย

40. การพัฒนาระบบสารสี astaxanthin จากสาหร่ายเซลล์เดียว Haematococcus pluvillis โดยการผลิตมวลชีวภาพสาหร่ายในถังปฎิกรณ์และการกระตุ้นให้เกิดสารสีในบ่อกลางแจ้ง

41. ความหลากหลายทางชีวภาพ การสกัดแยกสารเสริมระบบภูมิคุ้มกัน และการพัฒนาผลิตภัณฑ์สารเสริมอาหาร และอาหารเสริมสุขภาพจากพืช สาหร่ายไลเคนและเห็ด

42. กลุ่มสารที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ระงับการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร และลดความดันโลหิต จากสาหร่ายทะเลบางชนิด

43. การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงปูม้าและสาหร่ายทะเลสู่ชุมชน : ทางเลือกใหม่ของเกษตรกรรายย่อยในจังหวัดกระบี่ และพังงา

44. การเลี้ยงสาหร่ายผมนาง (Gracilaria spp.) เพื่อเป็นอาชีพทางเลือกใหม่สำหรับชาวประมงพื้นบ้านในอ่าวปัตตานี จังหวัดปัตตานี

45. การเพาะเลี้ยงสาหร่ายสีเขียวสกุล Cladophora (ไก) เพื่อเป็นอาหารปลาบึก

46. การวิจัยและพัฒนาการเลี้ยงสาหร่ายวุ้นสกุลกราซิลาเรียภายใต้ระบบควบคุมการเลี้ยงแบบกึ่งปิด

47. การพัฒนาสาหร่ายสายพันธุ์ใหม่โดยวิธีทางพันธุวิศวกรรมเพื่อการกำจัดสารปนเปื้อนจำพวกโลหะหนักในแหล่งน้ำธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ

48. การสำรวจสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากหญ้าทะเล และสาหร่ายทะเลบางชนิดในแถบชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก

49. การบ่งบอกระดับอณูชีววิทยาของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินจากน้ำพุร้อนบางแห่งในประเทศไทย

50. การใช้สาหร่าย Spirulina platensis ในการบำบัดน้ำเสียจากฟาร์มสุกรและการนำกลับมาใช้ประโยชน์

51. การศึกษาประสิทธิภาพของฟิวคอยด์แดนสารสกัดจากสาหร่ายทะเลในการควบคุมการติดเชื้อไวรัสดวงขาวในกุ้งกุลาดำ

52. ความหลากหลาย ความหนาแน่น และการแพร่กระจายของสาหร่ายทะเลที่เปลี่ยนแปลงตาม สภาพทางภูมิศาสตร์ และฤดูกาล ในจังหวัดสงขลา

53. โครงการประมวลองค์ความรู้ “การนำสาหร่ายมาใช้ในงานทางเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม”

54. ศักยภาพของสาหร่ายน้ำจืดขนาดใหญ่ในการนำมาเป็นอาหารและยา

55. การควบคุมคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงกุ้งโดยการเลี้ยงกุ้งกุลาดำร่วมกับสาหร่ายสไปรูลินา

56. สารออกฤทธิ์ต้านไวรัสจากสาหร่าย

57. การศึกษาการสร้างแหล่งสาหร่ายบนปะการังเทียมเพื่อพัฒนาการเพาะเลี้ยงหอยเป๋าฮื้อพันธุ์พื้นเมือง Hallotis asinina Linneus ในสภาพธรรมชาติ เพื่อพัฒนาไปสู่การเลี้ยงในเชิงพาณิชย์

58. การใช้น้ำทิ้งจากนากุ้งเพื่อการเลี้ยงสาหร่ายวุ้น และการสกัดวุ้นในประเทศไทย

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

Recent Posts