สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

จำนวน 313 เรื่อง

1. โครงการสายวิวัฒนาการเชิงภูมิศาสตร์ ความหลากหลายทางพันธุกรรมและโครงสร้างประชากรของสาหร่ายทะเลสีแดง Gracilaria salicornia ตามแนวชายฝั่งทะเลของประเทศไทย โดยอ้างอิงจากดีเอ็นเอในนิวเคลียสและออร์แกเนลล์ เพื่อนำไปสู่ข้อเสนอแนะเพื่อการอนุรักษ์และการจัดการ

2. ศึกษาการอยู่ร่วมกันของแหนแดงและสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน สกุล Anabaena

3. บรรณานุกรมของพืชสกุล Myriophyllum (สาหร่ายญี่ปุ่น)คณะอนุกรรมการประสานงานวัชพืชน้ำ คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา

4. การศึกษาหาชนิดสาหร่าย ที่เกาะวัสดุได้ดีเพื่อนำมาใช้ในการอนุบาลลูกหอยเป๋าฮื้อ

5. การใช้เทคนิคทางอิเลคโตรโฟริซิสในการจำแนกพันธุ์สาหร่ายขนาดเล็ก

6. การเพาะเลี้ยงสาหร่ายทะเล เพื่อการอุตสาหกรรม

7. อุปกรณ์กำจัดสาหร่าย เพื่อประกอบใช้กับเรือกำจัดผักตบชวา

8. การศึกษาการเลี้ยงสาหร่ายทะเลสีแดงขนาดใหญ่บางชนิด บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก

9. การเปลี่ยนแปลงด้านเมตาบอลิสมในสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน สายพันธุ์ Aphanothece halophytica ที่เจริญภายใต้ความเครียดของเกลือ

10. การทดลองเบื้องต้น ของการกำจัดน้ำเสีย จากโรงงานทอผ้าย่านรังสิต โดยใช้ผักตบชวา (Eichhornia crassipes (Mart.) Solms) ธูปฤาษี (Typha auqustifolia L.) และสาหร่าย (Najas graminea Del.)

11. การเพาะเลี้ยงโดยให้อัตราส่วนและช่วงความถี่การให้ N:P ระดับต่าง ๆ ในสาหร่าย polycavernosa changii ในระบบฟาร์มปิดเพื่อพัฒนาการเพาะเลี้ยงในระดับอุตสาหกรรมต่อไป

12. สาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว

13. การศึกษาผลของอัตราปุ๋ยยูเรีย 46 เปอร์เซนต์ ที่มีต่อการเจริญเติบโตของสาหร่าย Polycavernosa changii ในแปลงทดลองระบบฟาร์มปิด ซึ่งน้ำทะเลมีความเค็ม 10-20 ส่วนในพัน

14. การเพาะเลี้ยงและปริมาณโปรตีนของสาหร่าย Spirulina platensis ที่เลี้ยงในน้ำเวย์เต้าหู้

15. การพัฒนาเอนไซม์เฮโลเปอร์ออกซิเดสจากสาหร่ายทะเลไทย เพื่อการประยุกต์ใช้ในการแพทย์ เกษตรและอุตสาหกรรม

16. การศึกษาเปรียบเทียบการเลี้ยงสาหร่ายในน้ำทะเลธรรมชาติ กับน้ำทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งทะเล

17. การเพาะเลี้ยงสาหร่ายเขากวางบริเวณชายฝั่งทะเล ณ เขาสามมุข จังหวัดชลบุรี

18. คุณค่าทางโภชนาการ และการเพาะเลี้ยงสาหร่าย Spirogyra spp.

19. การศึกษาทดลองการผลิตสาหร่ายผง เพื่อใช้เป็นอาหารเพาะเลี้ยงลูกกุ้งวัยอ่อน

20. การศึกษานิเวศวิทยา และการแพร่กระจายของสาหร่าย เฉพาะสาหร่ายไดอาตอม ภายในบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

21. การศึกษาคุณสมบัติเอนไซม์โบรโมเปอร์ออกซิเดสจากสาหร่ายทะเลไทย เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้

22. ศึกษาความเหมาะสมของการเพาะเลี้ยงสาหร่ายชายฝั่งในภาคตะวันออกของประเทศไทยเพื่อเป็นแนวทางการเพาะเลี้ยงระดับอุตสาหกรรม

23. การศึกษาทางเคมีของสาหร่ายทะเลสีน้ำตาลบริเวณชายฝั่งทะเลของจังหวัดพังงา

24. การใช้ประโยชน์ของน้ำในลำรางสาธารณะ บริเวณสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เพื่อใช้ในการเลี้ยงสาหร่าย

25. การบำบัดน้ำเสียในลำรางสาธารณะภายในสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยการเพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูไลนา

26. การคัดเลือกและเพิ่มปริมาณสายพันธุ์สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน ที่สามารถตรึงไนโตรเจนเพื่อพัฒนาดินและเพิ่มผลผลิตในนาข้าว ในท้องที่ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย

27. การบำบัดน้ำทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งโดยใช้สาหร่ายทะเลสกุลกราซิลาเรีย ลดปริมาณสารประกอบไนโตรเจน

28. การนำทรัพยากรธรรมชาติทะเลสาบสงขลา (สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน) มาใช้ประโยชน์เพื่อเพิ่มผลผลิตทางด้านเกษตรกรรมในท้องถิ่นภาคใต้

29. การใช้สาหร่ายบำบัดน้ำเสียจากโรงงานผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว

30. การเพิ่มปริมาณมวลชีวภาพของสาหร่ายขนาดเล็กที่เลี้ยงในน้ำทิ้งจากโรงงานอาหารทะเลแช่เยือกแข็ง

31. ความสามารถในการทนเค็มของสาหร่ายเกลียวทองที่เพาะเลี้ยงในน้ำทิ้งจากโรงงานขนมจีน

32. ผลของวิธีการทำแห้งต่อปริมาณองค์ประกอบต่างๆ ในสาหร่ายเกลียวทอง

33. การศึกษาเลคตินในสาหร่ายทะเลจากบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย

34. ความหลากหลายของสาหร่ายในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

35. การใช้สาหร่ายทะเลสกุลกราซิลาเรียช่วยลดปริมาณออโธฟอสเฟตในน้ำทิ้ง จากการเลี้ยงกุ้ง

36. การเพิ่มผลผลิตสาหร่ายเกลียวทองที่เพาะเลี้ยงในวัสดุเหลือทิ้ง จากกระบวนการผลิตนมถั่วเหลือง

37. การศึกษาเปรียบเทียบการกำจัดสารคาร์บอน และไนโตรเจนในน้ำเสีย โดยวิธีการพ่นอากาศและการเพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูไลนา

38. การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้พืชท้องถิ่นแถบชายฝั่งทะเลในอาหารนกกระทาไข่ (2) สาหร่ายคีโตมอร์ฟา สาหร่ายอุลวา และหญ้าทะเล

39. ความคิดเห็นของเกษตรกรที่มีต่อผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพจากสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียวร่วมกับปุ๋ยเคมีในนาข้าวในโครงการเร่งรัดการปรับปรุงบำรุงดินของจังหวัดพะเยา

40. ความชุกชุมและวงจรสืบพันธุ์ของสาหร่ายวุ้น 2 ชนิด ในอ่าวปัตตานี

41. ผลของไอออนโลหะหนักต่อการเจริญของสาหร่าย

42. การเลี้ยงสาหร่ายวุ้น Gracilaria tenuistipitata Chang & Xia และ G.fisheri (Xia & Abbott) Abbott, Zhang & Xia ในบ่อโดยใช้เส้นเชือก

43. การเพาะเลี้ยงสาหร่ายผมนางเชิงพาณิชย์

44. การสำรวจ เพาะเลี้ยงและคุณค่าทางโภชนาการบางประการของสาหร่ายขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย

45. การศึกษาการใช้วุ้นที่สกัดจากสาหร่ายแดงบางชนิด เพื่อทดแทนสารเพ็คตินในการผลิตแยมและเยลลี่จากผลไม้พื้นเมืองภาคใต้

46. การสำรวจแพลงก์ตอนบริเวณแปลงสาหร่ายเทียมและปะการังเทียม

47. การศึกษาการสกัดสารแกมม่าลิโนเลนิคจากสาหร่ายเกลียวทองด้วยคาร์บอนไดออกไซด์วิกฤติยิ่งยวด

48. การสำรวจและเก็บรวบรวมสายพันธุ์สาหร่ายจากแหล่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ : สาหร่ายในแหล่งน้ำจืดเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

49. การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับอาหารเลี้ยงสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียวบางชนิดที่สามารถตรึงไนโตรเจน

50. การใช้สารสกัดจากสาหร่ายในการกำจัดแมลงศัตรูพืช

51. การศึกษาการสร้างแหล่งสาหร่ายบนปะการังเทียมเพื่อพัฒนาการเพาะเลี้ยงหอยเป๋าฮื้อพันธุ์พื้นเมือง Haliotis asinina Linnaeus ในสภาพธรรมชาติ เพื่อพัฒนาไปสู่การส่งเสริมการเลี้ยงในเชิงพาณิชย์

52. การศึกษาสัณฐานวิทยา กายวิภาคศาสตร์ และการใช้ประโยชน์ของสาหร่ายทะเลในภาคใต้ของประเทศไทย

53. การศึกษาวิจัยผลของสารสกัดจากสาหร่ายไฟและแห้วทรงกระเทียม ที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของวัชพืชน้ำบางชนิด

54. ศักยภาพการวิจัยและพัฒนาเพื่อการใช้ประโยชน์จากสาหร่ายในประเทศไทย

55. การผลิตสารสีธรรมชาติจากสาหร่ายเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร

56. การเลี้ยงสาหร่ายผมนาง, Gracilaria fisheri [Xia & Abbott] Abbott, Zhang & Xia, ร่วมกับปลากะพงขาว, Lates calcarifer Bloch, ในบ่อดิน

57. การผลิตผงสาหร่ายสำเร็จรูป

58. การศึกษาความเป็นไปได้ในการเลี้ยงหอยมุกน้ำจืดระยะจูวีไนล์ Chamberlainia hainesiama ในห้องปฏิบัติการด้วยสาหร่ายชนิดต่างๆ

59. การเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำชายฝั่งโดยการสร้างสาหร่ายเทียมแบบแขวนร่วมกับการปลูกหญ้าทะเล

60. การใช้น้ำทิ้งจากนากุ้งเพื่อการเลี้ยงสาหร่ายวุ้นและการสกัดวุ้นในประเทศไทย

61. การศึกษาการผลิต Polysaccharide จากสาหร่ายเกลียวทอง

62. การศึกษาปัญหาสาหร่ายผลิตสารพิษในแหล่งน้ำดิบและที่ใช้ในการผลิตน้ำประปาในหน่วยทหาร

63. คุณค่าทางโภชนาการและความสามารถในการต้านฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ของสาหร่ายทะเลชนิดแผ่นที่จำหน่ายในท้องตลาด

64. การผลิตผงสาหร่ายสำเร็จรูป

65. การลดปริมาณสารพิษจากสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว [Cyanobacteria] โดยใช้เปลือกไข่

66. การศึกษาความเป็นไปได้ในการเพาะเลี้ยงสาหร่าย Spirulina platensis ระดับนำร่องจากน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วจากระบบก๊าซชีวภาพฟาร์มเลี้ยงสุกร ปีที่ 1

67. การคัดเลือกสายพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน และแบคทีเรียสังเคราะห์แสงที่ทนอุณหภูมิในน้ำพุร้อนบางแหล่งบริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย

68. การทดสอบเบื้องต้นทางพฤกษเคมีของสาหร่ายทะเล เพื่อศึกษากลุ่มสารออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา

69. การศึกษาความหลากหลายของสาหร่ายในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

70. ชนิด ปริมาณ และการแพร่กระจายของสาหร่ายบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

71. การศึกษาสาหร่าย Microcystis aeruginosa Kutz. ทางด้านนิเวศวิทยา และพิษวิทยาของบางแหล่งน้ำ ในภาคเหนือของประเทศไทย

72. การศึกษาความเป็นไปได้ในการเพาะเลี้ยงสาหร่าย Spirulina platensis ระดับนำร่องจากน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วจากระบบก๊าซชีวภาพฟาร์มเลี้ยงสุกร ปีที่ 2

73. ความร่วมมือในเรื่อง Asian Network on Microbial Research [ANMR] : การจัดจำแนกและความหลากหลายในชนิดพันธุ์ของสาหร่าย

74. การสำรวจชนิด นิเวศวิทยาของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินในลุ่มน้ำภาคเหนือบางแห่งและการเพาะเลี้ยง

75. สาหร่ายหน้าดินขนาดเล็กในป่าชายเลนและระบบนิเวศน์ชายฝั่ง

76. การประเมินคุณภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำห้วยสงสัย โดยวิธีเคมีวิเคราะห์ และสาหร่ายวิเคราะห์

77. การส่งเสริมความสมบูรณ์เพศของปลาแรดและปลาดุกอุย ด้วยอาหารผสมสาหร่ายเกลียวทอง

78. โครงการสารออกฤทธิ์ต้านไวรัสจากสาหร่าย

79. การเลี้ยงหอยเป๋าฮื้อด้วยสาหร่ายผมนางในบ่อคอนกรีต

80. ผลกระทบจากการปิดบานระบายเขื่อนทดน้ำบางประกง ต่อการระบาดของสาหร่ายชั้นต่ำ และการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำ

81. การเจริญและแพร่ระบาดของสาหร่ายหางกระรอก และสาหร่ายเส้นด้ายในพื้นที่ชลประทาน

82. การทดลองเลี้ยงสาหร่ายทะเลในบ่อซีเมนต์

83. การใช้พืชลอยน้ำประเภทจอกและแหน คลุมผิวน้ำเพื่อลดปริมาณสาหร่าย

84. การควบคุมสาหร่ายชนิด Microcystis aeruginosa โดยใช้สารกำจัดสาหร่าย

85. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร “สาหร่ายสไปรูไลน่า” ศึกษาเฉพาะกรณีผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร

86. ผลของวิตามินรวมโคเลสเตอรอล เลซิติน บีเอชที (BHT) ซีโอไลท์ และสาหร่ายผมนาง (Gracilaria Fisheri) ต่อการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพอาหารและอัตราการรอดตายของหอยเป๋าฮื้อ (Haliotis asinina Linnaeus, 1758)

87. การกำจัดสารอินทรีย์และโลหะหนักจากน้ำเสียโดยใช้สาหร่ายขนาดเล็ก (Oscillatoria sp., Microcystis sp.)

88. การทดสอบความเป็นพิษของสีย้อม โดยใช้สาหร่ายและไรแดง

89. การผลิตปุ๋ยกากตะกอนน้ำเสียอุตสาหกรรมผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว เพื่อการเพาะเลี้ยงสาหร่ายเกลียวทอง

90. การผลิตและพัฒนาสารสีจากสาหร่ายเพื่อประยุกต์ใช้ในทางการแพทย์อุตสาหกรรมอาหาร และสีย้อม

91. ผลของปริมาณไนโตรเจนที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงสาหร่าย (Isochrysis galbana) ต่อปริมาณองค์ประกอบทางเคมีของสาหร่าย และอัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดของลูกปลาการ์ตูนวัยอ่อน

92. ประสิทธิภาพและดุลไนโตรเจนของการบำบัดน้ำ จากบ่อเลี้ยงกุ้งระบบหมุนเวียน โดยใช้สาหร่ายพวงองุ่น (Caulerpa lentillifera J. Agardh)

93. อัตราส่วนที่เหมาะสมของแร่ธาตุในปุ๋ยอินทรีย์จากกากตะกอนฟาร์มสุกร ในการเพาะเลี้ยงสาหร่ายคอลเรลลาและไรแดง

94. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบล กรณีศึกษากิ่งอำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี

95. การศึกษาประสิทธิภาพของฟิวคอยด์แดน สารสกัดจากสาหร่ายทะเล ในการควบคุมการติดเชื้อไวรัสดวงขาวในกุ้งกุลาดำ

96. การวิเคราะห์สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินที่มีประสิทธิภาพการตรึงไนโตรเจนในนาข้าวพื้นที่มหาวิทยาลัยทักษิณ อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

97. การปรับปรุงคุณภาพปลารันชูโดยใช้รงควัตถุคาโรทีนอยด์จากสาหร่ายสไปรูไลนา

98. ผลของสารสกัดจากธูปฤาษี (Typha sp.) และ แหนเป็ดเล็ก (Lemna sp.) ต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายชั้นต่ำในพื้นที่ชลประทาน

99. การทดลองเลี้ยงสาหร่ายผมนาง (Gracilaria fisheries), สาหร่ายพริกไทย (Caulerpa lentillfera) และสาหร่ายมงกุฎหนาม (Acanthophora spicifera) ในบ่อดิน

100. การใช้พืชน้ำในการควบคุมการระบาดของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน

Recent Posts